การกำหนดค่าแรงขั้นต่ำเป็นมาตรการหนึ่งที่ภาครัฐนำมาใช้เพื่อเพิ่มค่าแรงให้กับกลุ่มแรงงานที่รายได้น้อย หรือลดความเหลื่อมล้ำ อย่างไรก็ดี เป็นนโยบายที่ได้รับการโต้เถียงกันว่ามีผลดีหรือผลเสียต่อตลาดแรงงาน
-ในช่วงปี 2002-2010 ค่าแรงขั้นต่ำที่แท้จริงในประเทศไทยลดลงทีละน้อย และเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดในช่วงปี 2011-2013
- งานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลกระทบของนโยบายค่าแรงขั้นต่ำในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2002-2013 ต่อตลาดแรงงานไทยโดยใช้ข้อมูลระดับบุคคลจากแบบสำรวจแรงงานไทย
- งานวิจัยพบว่าหลังการเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำในช่วงปี 2011 ระดับการจ้างงานโดยรวมลดลงเล็กน้อย (ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ)
- อย่างไรก็ดี พบว่ามีการจ้างงานแรงงานต่างด้าวลดลงมาก
- บริษัทยังมีการปรับตัวเพื่อลดค่าใช้จ่าย โดยการลดการจ่ายค่าจ้างนอกเวลาแต่ชั่วโมงการทำงานของลูกจ้างไม่ได้ลดลง และลดการให้ผลประโยชน์ประเภทอื่นที่ไม่ได้มีการควบคุมทางกฎหมายแก่ลูกจ้าง
- ในด้านอุปทานแรงงานนั้น การศึกพบว่าการเพิ่มขึ้นของค่าแรงขั้นต่ำส่งผลให้การเข้าร่วมตลาดแรงงานของคนไทยเพิ่มขึ้น
บทความวิจัยโดย วรุตม์ สามารถ และ ผศ. ดร.วีระชาติ กิเลนทอง
สามารถอ่านบทความวิจัยฉบับนี้เพิ่มเติมได้ที่
-------------------------------------------------------
Cr.Bank of Thailand Scholarship Students
เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี !!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b
Line ID:@fxhanuman
Web : https://www.fxhanuman.com
Web : https://www.eluforex.com/
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/
เยี่ยมชม partner ของเราที่ Eluforex รีวิวโบรกเกอร์ Forex
#forex #ลงทุน #peppers #xm #fbs #exness #uag #icmarkets #avatrade #fxtm #tickmill #fxpro #fxopen #fxcl #forex3d #forex4you