Ray Dalio คือผู้จัดการกองทุนที่ยิ่งใหญ่

นอกจากเป็นนักลงทุนที่ประสบความสำเร็จ เขายังเป็นผู้ที่แสดงความเห็นทางเศรษฐกิจในสื่อทางเลือกอีกด้วย เร็วๆนี้เขาได้ออกบทความ Paradigm Shift ...เป็นบทความวิเคราะห์ถึงวงจรเศรษฐกิจ ..ทั้งสาเหตุ..ผล..และผลกระทบต่อเนื่องของมัน

ในบทความ Dalio ได้วาดโครงร่างเศรษฐกิจเป็นช่วงๆ ช่วงละสิบปี ที่โยงถึงกันอย่างเป็นรูปแบบ

สิ่งที่เห็นได้ชัดคือ ในอนาคตอันใกล้นี้..มีโอกาสที่ตลาดจะทำให้เกิด scenario ในแบบที่เคยเกิดขึ้นแล้วในอดีต ถึงแม้บางเรื่องประวัติศาสตร์อาจไม่เคยบันทึกไว้เลย

ผลที่จะเกิดขึ้นจะเป็น paradigm ใหม่ ..(กระบวนทัศน์ - แนวความคิดที่อยู่นานจนคุ้นเคยและคิดว่าจะอยู่ได้ตลอดไป..ผู้แปล) ..ที่จะแตกต่างจากผลที่เคยเกิดในระหว่าง paradigm ก่อนหน้า

มาลองดูกระบวนทัศน์อย่างย่อๆของแต่ละช่วงในอดีต และความแตกต่างของมัน

1920s = “Roaring”
...จากช่วงบูมไปสู่ระเบิด (Boom to Bursting Bubble) ...มันเริ่มมาจากเศรษฐกิจถดถอยก่อนหน้านั้น มาสู่การเติบโตที่มาจากการเร่งของจำนวนหนี้ตลอดของช่วงสิบปีนี้ (เฟื่องฟูจนเรียกว่า Roaring '20s ..ผู้แปล) ....แต่มันก็จบลงด้วยฟองสบู่ที่ระเบิดในปี 1929 ซึ่งเป็นปีสุดท้ายในช่วงนี้

1930s = Depression
...ช่วงสิบปีนี้เป็นสิ่งที่ตรงข้ามกับ 1920s ..วิกฤติหนี้ที่เกิดขึ้นทำให้เกิดเศรษฐกิจถดถอย อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 0% ...มีการพิมพ์เงินเพิ่มและการด้อยค่าของดอลล่าร์ ช่องว่างความมั่งคั่งระหว่างชนชั้นถ่างมากขึ้นไปอีก ทำให้ประชานิยมเกิดขึ้นทั่วโลกที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ....ช่วงนี้จบลงด้วยการเริ่มของสงคราม

1940s = War and Post-War
...รัฐบาลทุกประเทศทั่วโลกพิมพ์เงินเพิ่มและสร้างหนี้กันมากมาย เพื่อกระตุ้นให้เกิดการจ้างงาน และเพื่อเตรียมหนุนการทำสงคราม ...อุตสาหกรรมการผลิตยุทธปัจจัยทำให้สหรัฐเริ่มหลุดพ้นจากหลุมของ Great Depression

หลังสงคราม สหรัฐกลายมาเป็นมหาอำนาจที่เด่นเหนือทุกประเทศ เงินดอลล่าร์กลายมาเป็นทุนสำรองของทุกประเทศในโลก ดอลล่าร์อิงค่ากับทองคำในขณะที่สกุลเงินของทุกประเทศอิงกับดอลล่าร์อีกทอดหนึ่ง (Bretton Woods)

1950s = Post-War Recovery
...การฟื้นฟูช่วงหลังสงครามทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกพุ่งขึ้น (GDP โตเฉลี่ย 4% ทุกปี) บางส่วนก็มาจากนโยบายการกระตุ้นและดอกเบี้ยต่ำ ...ส่งผลให้ตลาดหุ้นไปได้สวย รัฐบาลสหรัฐก็ไม่ได้ขาดดุลงบประมาณมากนัก หนี้ภาครัฐก็ลดลง ...ในขณะที่หนี้ภาคเอกชนก็สอดคล้องกับการเติบโต ช่วงสิบปีนี้จบลงด้วยความเข้มแข็งอย่างแรงของฐานะการเงินของประเทศ ....(แต่ไม่บอกว่าดูดเอาของทั้งโลกไปเท่าไหร่..อิอิ)...นี่คือช่วงเวลาที่แรงงานคนอเมริกันชั้นกลางรุ่งเรืองและเป็นที่ต้องการมาก

1960s = From Boom to Monetary Bust
...เศรษฐกิจเติบโตจากการเพิ่มหนี้ ทำให้ดุลการชำระเงินเป็นปัญหาในครึ่งหลังของช่วงนี้ ...มันลากไปจนต้องเกิด paradigm shift ที่ทำให้ต้องยกเลิกระบบการเงิน Bretton Woods จนได้

1970s = Low Growth and High Inflation (i.e., Stagflation) เกิดเศรษฐกิจชะงักงัน
...ในช่วงต้นของรอบสิบปีนี้ มีปัญหาจากหนี้ภาครัฐจำนวนมาก..การขาดดุลชำระเงิน..และการยกเลิกมาตรฐานทองคำในปี 1971 .....ทำให้มีการ "พิมพ์" เงินกันมหาศาลเพื่อมา "ผ่อนคลาย" หนี้ การเติบโตทางเศรษฐกิจลดลงในขณะที่เงินเฟ้อกลับพุ่งขึ้น

1980s = High Growth and Falling Inflation (i.e., Disinflation) เกิดเงินเฟ้อติดลบ
...สิบปีนี้อัตราเงินเฟ้อต่ำลงในขณะที่การเติบโตเพิ่มขึ้น

1990s = “Roaring” ..From Bust to Bursting Bubble
...จากเศรษฐกิจฟุบจนถึงฟองสบู่แตก รอบนี้เริ่มจากเศรษฐกิจถดถอยจากสงครามอ่าวครั้งแรก ...แต่นโยบายการพิมพ์เงิน..เพิ่มหนี้สร้างความเติบโตที่ทำให้ราคาหุ้นขึ้นสูง ...แต่จบลงด้วยวิกฤติฟองสบู่ดอทคอม

2000–10 = “Roaring”: From Boom to Bursting Bubble
...ช่วงนี้เหมือนกับช่วง 1920s ที่ฟองสบู่หนี้มหาศาลที่นำไปสู่การระเบิดปี 2008-09 แบบเดียวกับฟองสบู่หนี้เมื่อปี 1929-32 ทั้งสองกรณีดันให้อัตราดอกเบี้ยลงไปถึง 0% และทำให้ธนาคารกลางพิมพ์เงินจำนวนมากเพื่อซื้อทรัพย์สินทางการเงิน ...paradigm shift เกิดขึ้นอีกครั้งในปี 2008-09 เมื่อเริ่มเกิด QE ในขณะที่อัตราดอกเบี้ยลงไปเกือบ 0%

2010-Now = Reflation เพิ่มเงินเพื่อรักษาระดับราคาสินค้า
...จากการเปลี่ยนกระบวนทัศน์รอบนี้ ธนาคารกลางทำ Quantitative Easing อย่างบ้าคลั่งที่ทำให้ราคาทรัพย์สินพุ่งขึ้น ความเสี่ยงต่ำและผลตอบแทนของทรัพย์สินทุกตัวดีมาก สร้างผลประโยชน์มหาศาลให้กับผู้ถือทรัพย์สินทางการเงิน จนช่องว่างระหว่าชนชั้นถ่างเพิ่มขึ้น

ตราสารหนี้ราคาสูงขึ้น จากการที่อัตราดอกเบี้ยต่ำ ทำให้มีผลกำไรมากขึ้น ในขณะเดียวกันทั่วโลกก็เกิดนโยบายประชานิยมมากขึ้น ....ราคาทรัพย์สินขึ้นสูงอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน การเติบโตก็ยังเข้มแข็ง..เงินเฟ้อยังคงต่ำ

What happens now?

ตั้งแต่ปี 2009 เราได้เข้ามาใน paradigm ที่....

ธนาคารกลางมีการลดอัตราดอกเบี้ยพร้อมๆกับการทำ QE ในแบบที่ไร้เสถียรภาพ ....เรื่องการกระตุ้นนี้ทำมาตั้งแต่ปี 2009 เป็นนโยบายการเงินที่สร้างภาระหนี้ที่ยิ่งใหญ่มากให้กับรัฐบาล ภาคเอกชนและผู้บริโภคทั่วไป ..และจากปริมาณหนี้ที่มากมายนี้ อัตราดอกเบี้ยจึงต่ำแบบที่ไม่อาจจะต่ำไปกว่านี้ได้ ..Fed ไม่มีทางเลือกมาก นอกจากตั้งใจจะสร้างวิกฤติ (..และก็ต้องรับผืดชอบด้วย)

เราอาจได้เห็นการทำผ่อนคลายในรูปแบบอื่นๆอีกได้ เช่นการลดค่าเงินและการขายหนี้ ...ซึ่งแน่นอนว่าผลของมันต่อระบบเศรษฐกิจคือ การเกิดเงินเฟ้อและการเข้าถือทองคำมาเป็น stores of value (ทิ้งดอลล่าร์)

เงินต้นทุนต่ำและเครดิตที่ได้ง่ายๆ ทำให้ธุรกิจซื้อหุ้นคืนจากตลาด หรือการควบรวมกิจการ หรือลงทุนใน venture capital ...ทั้งหมดนี้เพิ่มราคาตราสารทุนและทรัพย์สินต่างๆ และกดให้ผลตอบแทนในอนาคตแทบไม่เหลือ

Overall:

ผู้ที่ถือหลักทรัพย์ทางการเงินเพิ่มความมั่งคั่งให้ตนเองในขณะที่ผู้ใช้แรงงานกลับเป็นตรงข้ามและมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น เหมือนเมื่อปี 1930s

อัตราผลตอบแทนในอนาคตลดลง และนั่นก็อีกปัญหาหนึ่ง ...การลดลงของอัตราดอกเบี้ยทำให้ทรัพย์สินมี net present value (NPV..มูลค่าปัจจุบันสุทธิ) เพิ่มขึ้น ..ซึ่งดูเผินๆก็น่าจะดี ....แต่จากผลของผลตอบแทนที่จะลดลงในอนาคต มันก็จะสร้างปัญหาการชำระคืนหนี้ที่เกิดปัจจุบันนี้

เรื่องสำคัญที่จะเข้าใจเศรษฐกิจและนโยบายการเงินในอนาคต ก็คือ...หนี้

Debt is the key

หลังจากสิ้นสุดระบบ Bretton Woods ....โยงใยทุกเส้นของทองคำก็ถูกตัดขาดจากการเงินจนหมด ..ทั้งโลกเข้าสู่ระบบการเงิน FIAT เต็มรูปแบบ

ตั้งแต่นั้นมา ธนาคารกลางทั่วโลกก็สามารถพิมพ์ "money" ตามต้องการ และทุกวันนี้ก็ยังทำอยู่

ถ้าดอกเบี้ยต่ำอยู่ระดับนี้ เครื่องมือที่จะใช้แก้ปัญหาครั้งต่อไปก็แทบไม่เหลือ

Ray Dalio พูดถึงอนาคตของนโยบายการเงิน

"สำหรับผม ดูเหมือนธนาคารกลางจะช่วยเหลือลูกหนี้มากกว่าเจ้าหนี้นะ ...นี่ทำให้ผมคิดว่า การลดค่าดอลล่าร์และการขายหนี้คงต้องเกิดในไม่ช้า เจ้าหนี้คงทิ้งไปหาทรัพย์สินอื่นแน่ๆ

นับสิบๆปีมาแล้วที่หนี้ถูกใช้เพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ และถือว่าเป็นตัวขับดันการเติบโตของเศรษฐกิจ และในกระบวนการลดหนี้ที่มีอยู่มากมายนั้น ธนาคารกลางจะสละมูลค่าของสกุลเงินของตน

เราต้องระวังเรื่องนี้ด้วย

ทองคำเท่านั้นที่จะใช้ป้องกันความเสี่ยงนี้ได้

นอกเหนือจากการเป็นทรัพย์สิน safe-haven และเป็น store of value แล้ว ...ไม่มีใครที่จะพิมพ์ทองคำเพิ่มได้ และถึงมันจะไม่ให้ผลตอบแทนใดๆ แต่เราก็ต้องมีไว้ในพอร์ต

Cr.Sayan Rujiramora

เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
Web : https://www.fxhanuman.com
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

#forex #ลงทุน #peppers #xm #fbs #exness #uag #icmarkets #avatrade #fxtm #tickmill #fxpro #fxopen #fxcl #forex3d #forex4you

170225DGS 5208 FX Hanuman Media Buying Banners 843150 TH    

Broker Name Regulation Max Leverage Lowest Spreads Minimum Deposit Minimal Lot Contact
221124 trive logo 100x33px

Trive

FCA, ASIC, FSC 2000:1

0.0 pips -ECN
0.5 pips - Standard

$20 0.01 lot

View Profile

Visits website

121224 ebc forex logo 100x33EBC

FCA ,ASIC, CYAMAN 1000 : 1 1.1 pips - STD
0 pips - Pro
$50 0.01 lots View Profile
Visit Website
020125 eightcap 100x33eightcap  ASIC, FCA, SCB, CySec  500 : 1
1.0 Pips -STD
0.0 Pips - Raw
1.0 Pips - TradingView
$20   0.01 lots

View Profile

Visits website

 

180225 logo fpmarkets 100x33

Fpmarkets

ASIC, CySec  500 : 1

ECN 0.0 Pips
Standard 1.0 Pips

$100 0.01 lots

View Profile

Visits website

http://forex4you.com

Forex4you

FSC of BVI 1000 : 1

0.1 pips - Cent
0.1 pips - Classic
0.1 pips - STP

$1 

0.0001 lot Cent
0.01 lot Classic
0.01 lot STP

Visit website
View Profile

Doo Prime

SEC, FINRA, FCA, ASIC, FSA, FSC 500 : 1 0.1 pips $100 0.01 lots View Profile
Visit Website

 Exness 

CySEC, FCA Unli : 1  Stand
Unli : 1 Raw   
Unli : Zero
0.3 pips – Stand
0 pips – Raw
0 pips – Zero
$1 0.01 lot  Stand
0.01 lot  Raw
0.01 lot  Zero
View Profile
Visit Website

HFMarkets

SV, CySEC, DFSA, FCA, FSCA, FSA, CMA 2000 : 1  0.0 pips $5 0.01 lot View Profile
Visit Website

GMIEDGE

 FCA, VFSC 2000:1 0.1 Pips  $2.5  0.01 lot View Profile
Visit Website

150702 icmarkets logo

IC Markets

ASIC, FSA, CYSEC 1000:1 0.0 pips -ECN
0.5 pips - Standard
$10 0.01 lot

View Profile

Visit website

BDSwiss

FSC, FSA 1000 : 1 1.5 pips - Classic
1.1 pips - VIP
0.0 pips - RAW
$10 0.01 lots View Profile
Visit Website

Pepperstone

ASIC,SCB,CYSEC,DFSA,

FCA, BaFIN, CMA,

200 : 1 1 pips - Stand
0.1 pips - Razor
1 pips - No Swap
0 Pips - Active Trade
0 0.01 lot View Profile
Visit Website

TICKMILL

FCA 500:1 1.6 pips $25 0.01 lot View Profile
Visit website
290318 atfx logoATFX FCA, CySEC 200 : 1 1.8 pips $100 0.01 lot View Profile
Visit Website
170803 roboforex logoRoboForex CySEC, IFSC 2000:1 0.4 pips $10 0.01 lot View Profile
Visit Websit

www.fxclearing.com
FXCL Markets

IFSC 500 : 1

1 pips - Micro
1 pips - Mini
0.6 pips - ECN Li
0.8 pips - ECN Inta
1 pips - ECN Sca

$1 0.01 lot View Profile
Visit website

 

AxiTrader

FCA, ASIC, FSP, DFSA 400 : 1  0.0 pips $1 0.01 lot all View Profile
Visit website

http://www.fxprimus.com

FXPRIMUS

CySEC 500 : 1 2 pips - Mini
0.8 pips - Stand
0 pips - ECN
$100 0.01 lot all View Profile
Visit Website

FXTM

CySec ,FCA,IFSC 1000 : 1

0.0 pips - ECN

0.1 pips -Stan

$1 0.01 lot View Profile
Visit Website

AETOS.COM

AETOS

FCA, ASIC, VFSC, CIMA up to 800

Genneral 1.8 pip
Advance 1.2 pip
Pro 0.0 pip

$50
$50
$20,000

0.01 lot View Profile
Visit website

EIGHTCAP

ASIC 500 : 1 0.0 pips  $100 0.01 lot

View Profile

Visit website

 

Fullerton

SFP, NZBN 200 : 1 0.5 pips - Live $200 0.01 lot View Profile
Visit Website

FxPro

CySEC, FCA
FSB, MiFID
500 : 1
Max
0.6 pips  $100 0.01 lot View Profile
Visit Website

INFINOX

 FCA, SCB 400 : 1 0.0 pips $10 0.01 lot  View Profila
Visit Website

VT markets

CIMA, ASIC 500 : 1 0.0 pips $200 0.01 lot  View Profila
Visit Website

TMGM

ASIC 500 : 1 0.0 pips $100 0.01 lot  View Profila
Visit Website

020422 zfx logo

ZFX

FCA, FSA 2000 : 1 0.0 pips

$15

0.01 lot  View Profila
Visit Website

 

ดูตารางเปรียบเทียบโบรกเกอร์ทั้งหมด คลิก

 

 

 

 

 

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"