มีโอกาสค่อนข้างมากที่ตลาดหุ้นสหรัฐจะแครชแบบสร้างประวัติการณ์ ..ก่อนหมดสมัยแรกของ ปธน.ทรัมพ์

นั่นเพราะนโยบายการขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ Federal Reserve ที่เริ่มมาตั้งแต่ปี 2015 เป็นการจงใจระเบิดฟองสบู่ "everything bubble" ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจว่า Fed สร้างวงจร boom/bust กันอย่างไร

เริ่มแรก Fed กดอัตราดอกเบี้ยให้ต่ำกว่าระดับปกติ เพื่อสนับสนุนการลงทุนแบบผิดๆ ...ซึ่งทำให้ธุรกิจเอกชนลงทุนในทรัพย์สินถาวรและทรัพย์สินทุนอื่นๆ..จากเงินทุนราคาถูก

นั่นเป็นการกระจายการลงทุนที่ผิด และเมื่อถึงคราวที่อัตราดอกเบี้ยเริ่มขยับขึ้น การลงทุนที่ทำมาทั้งหมดก็จะเริ่มเกิดปัญหา

แม้กระทั่งการซื้อที่อยู่อาศัยของบุคคลธรรมดาที่ได้แรงจูงใจจากดอกเบี้ยต่ำก็เริ่มจะต้องประสบปัญหา..เมื่อภาพลวงตาเริ่มจางไป จนอาจถึงขั้นต้องพักชำระหนี้

พูดง่ายๆเลย เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำที่ไหลเข้าท่วมตลาดจะเป็นตัวเป่าให้ฟองสบู่โตขึ้นในบางภาคของทรัพย์สิน

แต่การขึ้นดอกเบี้ยจะเป็นตัวที่ไปทิ่มแทงให้ฟองนั้นระเบิด

.....และจบลงเป็นวิกฤติ

การขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ Fed เกือบทุกครั้ง จบลงด้วยวิกฤติ แต่หลายครั้งมันเกิดขึ้นในต่างประเทศก่อน และมักจะสะท้อนกลับมาที่ตลาดสหรัฐเสมอ

โดยเฉพาะ ในจำนวน 19 ซีรี่ส์การขึ้นดอกเบี้ย rate hiking ล่าสุดที่ Fed ทำไป มีถึง 19 ครั้งทำให้เกิดตลาดหุ้นแครชตามมา ....นั่นคิดได้เป็น 84% เลย

ตามชาร์ทแสดงให้เห็นบางตัวอย่างเท่านั้น

มาลองดูการเกิดวิกฤติครั้งใหญ่ๆ บางครั้ง

• 1929 Wall Street Crash

ตลอดช่วง 1920s ...Federal Reserve มีนโยบายดอกเบี้ยต่ำที่ช่วยให้เกิดฟองสบู่ขนาดยักษ์ในตลาดหุ้น (จนเกิดเป็น roaring '20s....ผู้แปล)

แต่พอถึงเดือนสิงหาคม 1929 ...Fed ขึ้นดอกเบี้ย จบสิ้นการให้เครดิตราคาถูกแล้ว

ในชั่วไม่กี่เดือนจากนั้น ฟองสบู่ก็แตก...ในวัน Black Tuesday ดาวโจนส์ร่วงไป 12% ในวันเดียว เป็นวันที่เลวร้ายที่สุดของตลาดหุ้นสหรัฐ และนั่นเป็นจุดเริ่มของ Great Depression

ในระหว่างปี 1929 ถึงปี 1932 ตลาดหุ้นตกต่ำจนสูญมูลค่าไปถึง 86%

• 1987 Stock Market Crash

เดือนกุมภาพันธ์ 1987 ...Fed ตัดสินใจดูดสภาพคล่องออกจากตลาด ดันให้อัตราดอกเบี้ยพุ่งขึ้น

และยังคงบีบต่อไปจนเกิดการแครชในวัน "Black Monday" ในเดือนตุลาคมปีนั้น ..S&P 500 ร่วงไป 33%

พอถึงจุดนั้น Fed รีบกลับลำ..โดยเริ่มกลับมาผ่อนคลายอีกครั้ง นั่นคือผลงานแรกของ Alan Greenspan ...ซึ่งยังมีตามมาอีกหลายครั้ง

• Asia Crisis and LTCM Collapse

แพทเทอร์นเดียวกันนี้เกิดขึ้นอีกครั้งในช่วงกลาง 1990s คราวนี้ไปที่ตลาดเกิดใหม่ ซึ่งหลายๆชาติมีการกู้ยืมกันมหาศาลในตอนที่ดอกเบี้ยมันถูกมาก ..แต่แล้ว Greenspan ก็เริ่มขึ้นดอกเบี้ย

คราวนี้..วิกฤติเริ่มที่เอเซีย (ประเทศไทย) ขยายไปยังรัสเซีย และในที่สุดก็ไปถึงสหรัฐที่ทำให้ตลาดร่วงไปถึง 20%

Long-Term Capital Management (LTCM) เป็นกองทุนเฮดจ์ฟันด์สัญชาติสหรัฐ ที่ได้กู้เงินจำนวนมากมาลงทุนในรัสเซียและอีกหลายประเทศในเอเซีย..หลังเกิดวิกฤติ..กองทุนอาจต้องล้มละลาย แต่เนื่องจากขนาดของกองทุนนี้มัน "too big to fail"...Fed จึงต้องช่วยกู้ (bail out) LTCM เอาไว้

• Tech Bubble

Greenspan อีกครั้ง ...เขาเริ่มวงจรขึ้นดอกเบี้ยที่ทำให้ฟองสบู่หุ้นดอทคอมระเบิด ...หุ้น tech bubble นี่แหละที่เกิดฟองสบู่จากนโยบายดอกเบี้ยต่ำของเขา ......หลังฟองสบู่แตกครั้งนั้น มูลค่าของ S&P 500 เหลือแค่ครึ่งเดียว

• Subprime Meltdown and the 2008 Financial Crisis

หลังฟองสบู่ดอทคอมแตกครั้งนั้นทำให้เกิดเศรษฐกิจชะลอตัวอยู่ระยะหนึ่ง ..จน Fed โดย Alan Greenspan อีกแล้ว ก็ลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อแก้ปัญหา ...แล้วเงินต้นทุนต่ำเหล่านี้ก็ไหลเข้าท่วม....คราวนี้เข้าตลาดที่อยู่อาศัย

จนมาถึงปี 2004 ...Fed ก็เริ่มเพิ่มอัตราดอกเบี้ย มันค่อยๆทำให้คนอเมริกันที่เป็นหนี้ค่าบ้านไม่สามารถชำระหนี้ได้ .....หนี้จำนองจำนวนมากที่ถูกผูกรวมเป็นสัญญาหลักทรัพย์..ขายต่อให้กับสถาบันการเงินใหญ่ๆ

เมื่อหนี้จำนองมีการชักดาบกันเป็นจำนวนมาก สัญญาหลักทรัพย์ที่อิงกับสัญญาจำนองเหล่านี้ก็พังไปด้วย สถาบันการเงินที่ซื้อหลักทรัพย์นี้ไว้ก็ต้องพังตาม

มันสร้างวิกฤติโดมิโน่ที่เกือบทำให้ระบบการเงินทั้งโลกต้อง collapse ลงไป ...คราวนี้ S&P 500 ร่วงไปถึง 56%

• 2018: The “Everything Bubble”

อีกหนึ่งวิกฤติที่ยังไม่เกิดตอนนี้ แต่มาแน่

อย่างที่เรารับรู้กันอยู่แล้ว Fed แก้วิกฤติการเงินของปี 2008 โดยการอัดเงินราคาถูกเข้าตลาดอย่างไม่เคยมีมาก่อน

เงินดอลล่าร์นับล้านล้าน (trillion) ถูกพิมพ์เข้าสู่ระบบ แต่พูดให้ฟังดูดี เรียกมันว่า โปรแกรมผ่อนคลายเชิงปริมาณ Quantitative Easing (QE) ครั้งที่ 1..2..3..

ในขณะเดียวกัน Fed ก็ใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยศูนย์เปอร์เซนต์ ต่ำที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐ

Fed อ้างว่าที่ทำไปทั้งหมดก็เพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจ แต่ความจริง มันได้สร้างเรื่องผิดเพี้ยนจำนวนมากที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ทั้งที่รู้อยู่ว่าสักวันหนึ่งทั้งหมดนี้จะต้องถูกกวาดทิ้งจนได้

เรียกว่า Federal Reserve แก้ปัญหาวิกฤติครั้งที่ผ่านมา ด้วยการเพาะพันธ์ใหม่ของวิกฤติที่จะใหญ่ขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

เงินนับสิบๆ trillions ที่ถูกเพิ่มขึ้นมา ไม่ได้ไปสร้างฟองสบู่แค่ภาคที่อยู่อาศัย housing buble หรือ tech bubble แต่เป็น "everything bubble"

Fed ปล่อยให้อัตราดอกเบี้ยอยู่ที่ศูนย์เปอร์เซนต์มาตั้งแต่ปี 2008 ...ปล่อยไว้จนถึงเดือนธันวาคม 2008 ..นานเกือบๆ 7 ปี

ที่ผ่านมา Fed เคยทำให้เกิดฟองสบู่ที่อยู่อาศัย จากดอกเบี้ยต่ำ 1% เป็นเวลาแค่สองปี ...แต่ถ้าดอกเบี้ยเป็น 0% ถึงเจ็ดปีแบบนี้ ก็หยั่งไม่ถูกแล้วว่าฟองจะใหญ่แค่ไหน หรือมันจะเพี้ยนไปไกลแค่ไหน...ฟองลูกนี้ต้อง pop อย่างรุนแรงแน่ๆ

ตั้งเดือนธันวาคม 2015 Fed ค่อยๆปรับขึ้นดอกเบี้ยไตรมาสละ 0.25% .....วงจร rate-hike นี้จะไประเบิดฟองสบู่ everything bubble โดยเราจะเห็นได้จากสัญญานเตือนเหล่านี้

• Warning Sign No. 1

กลุ่มประเทศเกิดใหม่เกิดสัญญานเตือนสีแดงแล้ว ..เมื่อต้นปีนี้ ค่าเงินลีร่าของเตอรกีตกไป 40% ..เปโซของอาร์เจนติน่าก็ร่วงไปพอๆกัน

วิกฤติค่าเงินของประเทศเหล่านี้น่าจะเป็นเค้าลางให้เห็นถึงวิกฤติที่จะมาถึงสหรัฐ เหมือนเมื่อครั้งวิกฤติเอเซียจากการชักดาบหนี้เมื่อช่วง 1990s ที่ส่งผลถึงสหรัฐจนได้

• Warning Sign No. 2

การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ไม่ยั่งยืน

เงินดอลล่าร์นับ trilions ขับเคลื่อนเศรษฐกิจสหรัฐจนมันขยายตัวได้ยาวนานมากเป็นที่สองจากที่เคยเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ ถ้าพ้นเดือนกรกฏาคมนี้ไป ก็จะยาวนานที่สุด ...มันน่าจะต้องสิ้นสุดก่อนหมดสมัยปธน. นี้แน่นอน

• Warning Sign No. 3

ตลาด bull market ที่ยาวนาน .....ตั้งแต่ต้นปีมาแล้วที่ตลาดหุ้นสหรัฐทำสถิติตลาดกระทิงที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ มันขึ้นสูงอยู่ตลอดเกือบสิบปีโดยไม่มี correction เกิน 20% เลยสักครั้ง ...market cap ก็มีมูลค่าเกือบสูงสุดในประวัติการณ์

CAPE Ratio ของ S&P 500 ขณะนี้เกือบถึงขั้นสูงสุด (CAPE Ratio ยิ่งสูงหมายถึงราคาหุ้นยิ่งแพง) เป็นรองจากแค่ครั้งก่อน tech bubble จะแตกเท่านั้น

ทุกครั้งที่มาถึงจุดนี้ มักตามด้วยวิกฤติแรงๆ

Preparing for the Pop

จากมาตรฐานในประวัติศาสตร์ ตลาดหุ้นและเศรษฐกิจโดยรวมของสหรัฐมันเลยเวลา correction ไปแล้ว ไม่ว่า Fed จะทำยังไงก็ตาม

แต่ถ้าเอาเรื่องการขึ้นอัตราดอกเบี้ย..ที่เคยทำให้ฟองสบู่แตกไปหลายครั้งแล้ว..เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ...การพังทลายของตลาดหุ้นก่อนหมดเทอมนี้ของทรัมพ์ก็เป็นที่แน่นอน

ถ้านักลงทุนจะทำช้อร์ตในตลาดหุ้นไว้ ก็น่าจะเป็นเตรียมตัวที่ดีนะ

ครั้งนี้ Federal Reserve ได้ทำการวาร์ปเศรษกิจไปไกลมากๆ ไกลกว่ายุค 1920s หรือครั้งไหนๆทั้งสิ้น


Cr.Bank of Thailand Scholarship Students

เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
Web : https://www.fxhanuman.com
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

#forex #ลงทุน #peppers #xm #fbs #exness #uag #icmarkets #avatrade #fxtm #tickmill #fxpro #fxopen #fxcl #forex3d #forex4you

170225DGS 5208 FX Hanuman Media Buying Banners 843150 TH    

Broker Name Regulation Max Leverage Lowest Spreads Minimum Deposit Minimal Lot Contact
221124 trive logo 100x33px

Trive

FCA, ASIC, FSC 2000:1

0.0 pips -ECN
0.5 pips - Standard

$20 0.01 lot

View Profile

Visits website

121224 ebc forex logo 100x33EBC

FCA ,ASIC, CYAMAN 1000 : 1 1.1 pips - STD
0 pips - Pro
$50 0.01 lots View Profile
Visit Website
020125 eightcap 100x33eightcap  ASIC, FCA, SCB, CySec  500 : 1
1.0 Pips -STD
0.0 Pips - Raw
1.0 Pips - TradingView
$20   0.01 lots

View Profile

Visits website

 

180225 logo fpmarkets 100x33

Fpmarkets

ASIC, CySec  500 : 1

ECN 0.0 Pips
Standard 1.0 Pips

$100 0.01 lots

View Profile

Visits website

http://forex4you.com

Forex4you

FSC of BVI 1000 : 1

0.1 pips - Cent
0.1 pips - Classic
0.1 pips - STP

$1 

0.0001 lot Cent
0.01 lot Classic
0.01 lot STP

Visit website
View Profile

Doo Prime

SEC, FINRA, FCA, ASIC, FSA, FSC 500 : 1 0.1 pips $100 0.01 lots View Profile
Visit Website

 Exness 

CySEC, FCA Unli : 1  Stand
Unli : 1 Raw   
Unli : Zero
0.3 pips – Stand
0 pips – Raw
0 pips – Zero
$1 0.01 lot  Stand
0.01 lot  Raw
0.01 lot  Zero
View Profile
Visit Website

HFMarkets

SV, CySEC, DFSA, FCA, FSCA, FSA, CMA 2000 : 1  0.0 pips $5 0.01 lot View Profile
Visit Website

GMIEDGE

 FCA, VFSC 2000:1 0.1 Pips  $2.5  0.01 lot View Profile
Visit Website

150702 icmarkets logo

IC Markets

ASIC, FSA, CYSEC 1000:1 0.0 pips -ECN
0.5 pips - Standard
$10 0.01 lot

View Profile

Visit website

BDSwiss

FSC, FSA 1000 : 1 1.5 pips - Classic
1.1 pips - VIP
0.0 pips - RAW
$10 0.01 lots View Profile
Visit Website

Pepperstone

ASIC,SCB,CYSEC,DFSA,

FCA, BaFIN, CMA,

200 : 1 1 pips - Stand
0.1 pips - Razor
1 pips - No Swap
0 Pips - Active Trade
0 0.01 lot View Profile
Visit Website

TICKMILL

FCA 500:1 1.6 pips $25 0.01 lot View Profile
Visit website
290318 atfx logoATFX FCA, CySEC 200 : 1 1.8 pips $100 0.01 lot View Profile
Visit Website
170803 roboforex logoRoboForex CySEC, IFSC 2000:1 0.4 pips $10 0.01 lot View Profile
Visit Websit

www.fxclearing.com
FXCL Markets

IFSC 500 : 1

1 pips - Micro
1 pips - Mini
0.6 pips - ECN Li
0.8 pips - ECN Inta
1 pips - ECN Sca

$1 0.01 lot View Profile
Visit website

 

AxiTrader

FCA, ASIC, FSP, DFSA 400 : 1  0.0 pips $1 0.01 lot all View Profile
Visit website

http://www.fxprimus.com

FXPRIMUS

CySEC 500 : 1 2 pips - Mini
0.8 pips - Stand
0 pips - ECN
$100 0.01 lot all View Profile
Visit Website

FXTM

CySec ,FCA,IFSC 1000 : 1

0.0 pips - ECN

0.1 pips -Stan

$1 0.01 lot View Profile
Visit Website

AETOS.COM

AETOS

FCA, ASIC, VFSC, CIMA up to 800

Genneral 1.8 pip
Advance 1.2 pip
Pro 0.0 pip

$50
$50
$20,000

0.01 lot View Profile
Visit website

EIGHTCAP

ASIC 500 : 1 0.0 pips  $100 0.01 lot

View Profile

Visit website

 

Fullerton

SFP, NZBN 200 : 1 0.5 pips - Live $200 0.01 lot View Profile
Visit Website

FxPro

CySEC, FCA
FSB, MiFID
500 : 1
Max
0.6 pips  $100 0.01 lot View Profile
Visit Website

INFINOX

 FCA, SCB 400 : 1 0.0 pips $10 0.01 lot  View Profila
Visit Website

VT markets

CIMA, ASIC 500 : 1 0.0 pips $200 0.01 lot  View Profila
Visit Website

TMGM

ASIC 500 : 1 0.0 pips $100 0.01 lot  View Profila
Visit Website

020422 zfx logo

ZFX

FCA, FSA 2000 : 1 0.0 pips

$15

0.01 lot  View Profila
Visit Website

 

ดูตารางเปรียบเทียบโบรกเกอร์ทั้งหมด คลิก

 

 

 

 

 

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"