“นักวิจัยชี้ : อเมริกา ไม่ใช่ประชาธิปไตย แต่เนื้อแท้เป็น ธนาธิปไตยหรือ​คณาธิปไตย”

... มีการศึกษาวิจัยในปี 2014 เกี่ยวกับ “การปกครองในอเมริกา” ของสถาบัน Perspectives on Politics ที่มีการพบความจริงว่า “อเมริกา ไม่ใช่ระบอบประชาธิปไตย” แต่เป็นระบบ “คณาธิปไตย” Oligarchy

( หรือการปกครองโดยหมู่คนคณะเล็กๆคณะเดียว ผูกขาด ทำเพื่อพวกพ้อง สืบทอดรุ่นสู่รุ่น )

... ขณะที่มีอีกคำคือ “ธนาธิปไตย” “อริสโตเติล” ริเริ่มการใช้คำนี้เป็น “การปกครองโดยคนรวย” ซึ่งคำที่ถูกต้อง คือ “ธนาธิปไตย” (plutocracy) แต่ “คณาธิปไตย” ไม่จำเป็นต้องเป็นการปกครองด้วยความมั่งมีเสมอไป ด้วยผู้ปกครองในระบอบคณาธิปไตยเป็นกลุ่มมีเอกสิทธิได้ง่าย ๆ และไม่จำเป็นต้องเชื่อมโยงทางสายเลือดดังเช่นใน “ราชาธิปไตย” บางนครรัฐในสมัยกรีกโบราณปกครองแบบคณาธิปไตย

… นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล Paul Krugman ( ที่เคยช่วยปู่มหาเดร์ แห่ง มาเลเซีย ปิดประเทศทางการเงิน หรือ Capital Control เลยไม่ต้องยืมเงินไอเอ็มเอฟ ฉลาดกว่านักการเมืองไทยตอนวิกฤติการเงินปี 1997) กล่าวในหนังสือของเขาที่ชื่อว่า The Conscience of a Liberal, ในบทที่ชื่อว่า “การเมืองระบบธนาธิปไตย” ว่ากลุ่มผู้มีอำนาจเบ็ดเสร็จเกิดขึ้นได้ เนื่องจากปัจจัย 3 ประการ:

...1) คนที่ยากจนที่สุดของชาวอเมริกัน (ชาวแอฟริกัน - อเมริกันและผู้อพยพที่ไม่มีสัญชาติ) บางส่วนไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียง, ( เช่น กรณีที่ชัดเจน ก็คือ พี่น้องบุชช่วยกันโกงกำจัดสิทธิ์ผู้ลงคะแนนพรรคเดโมแครต ที่ส่วนใหญ่เป็นคนผิวสี และ เชื้อสายสเปน เพื่อหวังดันให้บุช ชนะอัลกอร์ ในรัฐฟลอริด้า เป็นการเลือกตั้งที่เหม็นฉาวโฉ่ที่สุดครั้งหนึ่งในโลก ในปี 2000 )

... 2) ผู้ร่ำรวยมั่งคั่งสนับสนุนการเงินแก่นักการเมืองที่พวกเขารักชอบ ( หรือนักการเมืองเป็นนายหน้า หุ่นเชิด หุ้นส่วน หรือ เครื่องมือของนายทุนบรรษัท กระฎุมพีใหญ่ )

... และ 3)​ คือ “การซื้อเสียง” ที่ "เป็นไปได้ ทำง่ายและแพร่หลาย" ในข้อนี้รวมความถึงการโกงคะแนนเลือกตั้งในรูปแบบอื่นๆด้วย เช่นการสอดไส้ ผสมใบลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในกล่องบรรจุ และการข่มขู่ในหลายรูปแบบของผู้มีสิทธิเลือกตั้งของอีกฝ่าย ( ในไทยเป็นเทพเจ้าแห่งการโกงเลือกตั้ง )

... นอกจากนั้นนับตั้งแต่ปี 1970 กลุ่มชนชั้นสูงที่ร่ำรวยก็พยายามใช้อำนาจใน “การลดภาษี” ( หรือลดรายจ่ายของบรรษัท ) ที่พวกเขาต้องจ่ายให้กับรัฐบาลอเมริกาลง ( เช่นล่าสุด สมัยทรัมป์ ที่ลดภาษีบรรษัทขนาดใหญ่โดยอ้างสวยหรูว่าเพื่อจะกระตุ้นตลาดหุ้นและการลงทุน ที่กระตุ้นอย่างแรกมากกว่าการลงทุนจริง )

... ขณะที่ “โจเซฟ สติ๊กลิซท์ นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลอีกคนก็บอกว่า “อเมริกา” นั้นถูกปกครองด้วยคนรวยกลุ่มน้อยเพียง ร้อยละ 1 แค่กลุ่มเดียว ที่ปกครองประชาชนอีก ร้อยละ 99 ที่เหลือ เขาเรียกระบบนี้ว่า “ระบบเครือข่ายคนชั้นสูงผูกขาด ของคนเพียง1เปอร์เซนท์ โดยคนเพียง1เปอร์เซนท์ เพื่อคนเพียง1เปอร์เซนท์” หรือ ที่สอดคล้องกับนักวิชาการหลายคนที่เรียกระบบนี้ว่า “คณาธิปไตย” หรือ “คนหมู่เดียวครองอำนาจ เพื่อพรรคพวกของเขาเอง” oligarchy ซึ่งคำนี้ใช้แพร่หลายมากกว่า เพราะกินถึงหลายกลุ่มมากกว่าคำว่า "ธนาธิปไตย" , เพราะ oligarchy หรือ "คณาธิปไตย" นั้นไม่ได้แค่ตีความถึงบรรษัทคนรวยนักธุรกิจนายทุนเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมถึง นักการเมือง นักการศาสนา นักการทหาร นักวิชาการ ข้าราชการประจำที่รากงอกเป็นมาเฟียมานานเป็นหลายสิบปี เปรียบเหมือนขุนนางอำมาตย์อำนาจมาก หรือแม้แต่ราชวงศ์ ที่ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน รัฐประเทศเช่นนี้มักถูกควบคุมโดยไม่กี่ตระกูลที่มีชื่อเสียงซึ่งส่งผ่านอิทธิพลของตระกูลจากรุ่นสู่รุ่น ( เช่นเครือข่ายของกลุ่ม ไซออนนิสต์CFR บิลเดอเบิร์ก หรือ Trilatteral Commission เป็นต้น )

... การเลือกตั้งเป็นแค่พิธีกรรมเท่านั้น มีงานวิจัยของนักวิชาการสองคือ คือ Martin Gilens ( Princeton University) และ Benjamin Page (Northwestern University) ที่เผยแพร่ในเดือนเมษายน ในปี 2014 มีการวิจัยศึกษาพบว่า ประชาชนทั่วไปร้อยละ99 นั้น ไม่ได้มีอิทธิพลในการสร้างปรับเปลี่ยนนโยบายระดับมหภาคของประเทศอเมริกาเลย แต่เป็นการปกครองออกนโยบายของคนแค่กลุ่มเดียว

... ... ส่วน “การปกครองแบบธนาธิปไตย” ( พลูโตเครซี หรือ Plutocracy )“เป็นสังคมที่ปกครองหรือควบคุมโดยคนที่มีความมั่งคั่งหรือรายได้มหาศาล” การใช้คำศัพท์ครั้งแรกที่รู้จักกันดีในภาษาอังกฤษตั้งแต่ปี 1631 ซึ่งแตกต่างจากระบบต่าง ๆ เช่น ประชาธิปไตย ทุนนิยม สังคมนิยมหรืออนาธิปไตย

... “ระบบธนาธิปไตย” นี้ไม่ได้มีรากเหง้าที่เกี่ยวข้องในปรัชญาการเมืองใดๆ ในตอนจัดตั้งขึ้น แนวความคิดเกี่ยวกับผู้อยู่ในระบบจะได้รับการสนับสนุนจากชนชั้นที่ร่ำรวยของสังคมในรูปแบบทางอ้อมหรือการแอบแฝง

... “ระบบธนาธิปไตย” หรือ “การปกครองด้วยเงินของคนรวย” มักใช้เป็นคำดูถูกเพื่ออธิบายหรือเตือนให้ทราบถึงสภาพที่ไม่พึงประสงค์ , ตลอดประวัติศาสตร์นักคิดทางการเมืองเช่น Winston Churchill ,นักสังคมวิทยาและนักประวัติศาสตร์ ชาวฝรั่งเศสในศตวรรษที่ 19 Alexis de Tocqueville , นักบวชชาวสเปนในศตวรรษที่ 19 Juan Donoso Cortés Juan และนักวิชาการปัจจุบันอย่าง Noom Chomsky ได้ประณามผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปกครองระบบนี้ในสังคมของพวกเขา เพราะว่า “ระบบธนาธิปไตย” นี้ได้เพิ่มความยากจนและขยายความขัดแย้งในชนชั้นทำให้สังคมเสียหายด้วยความโลภและการลุ่มหลงมัวเมาในกิเลศ”

... “ระบบที่ปกครองด้วยคนรวย” นี้ มีมาอย่างยาวนานตั้งแต่สมับกรีก โรมัน คาร์เธจ หรือรัฐในอิตาลี เช่น เวนิซ ฟลอเรนซ์ เจนัว หรือ ญี่ปุ่นในสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนในปัจจุบันนี้ “โนม โชมสกี้ และ จิมมี่ คาร์เตอร์” บอกว่า “อเมริกา” มีการปกครองแบบ "ธนาธิปไตย" หรือแม้แต่นาย Paul Volcker อดีตประธานธนาคารกลางอเมริกาหรือ เฟด ก็บอกว่า “อเมริกากำลังพัฒนาไปสู่ระบบธนาธิปไตย"

... นักประวัติศาสตร์ นักการเมือง นักเศรษฐศาสตร์บางคนบอกว่าประวัติศาสตร์ของ “อเมริกา” นั้น เกี่ยวข้องกับระบบนี้มาเรื่อยๆ เช่น ช่วงหลังสงครามการเมือง ( 1861-1865) จนถึงวิกฤติเศรษฐกิจใหญ่ในปี 1929 โดยอดีตประธานาธิบดีสองสมัยของอเมริกา นายธิโอดอร์ รูสต์เวลท์ ได้เคยพยายามที่จะออกกฏหมายเพื่อจะขัดขวางการผูกขาดของระบบรางรถไฟที่ใหญ่ที่สุดของประเทศกับบริษัทพลังงานน้ำมันยักษ์ใหญ่ของประเทศอย่างสแตนดาร์ดออยล์มาแล้ว เพื่อที่จะป้องกันการผูกขาดของนายทุนใหญ่เพียงกลุ่มเดียวในอเมริกา และมีวาทะกรรมที่สะเทือนวงการเมืองในอดีตว่า

... “เรามาถึงจุดที่ประชาชนต้องการที่คือประชาธิปไตยที่แท้จริง และการปกครองแบบเผด็จการในทุกรูปแบบที่น่าดึงดูดใจน้อยที่สุดและหยาบคายมากที่สุดคือ การปกครองแบบ “เผด็จการของความมั่งคั่ง” หรือ “เผด็จการธนาธิปไตย” “

... ซึ่งสอดคล้องกับการประท้วงในอเมริกา ที่เริ่มเมื่อ 17 กันยายน 2011 ที่เรียกว่า "Occupied Wall street" ที่มีการประท้วงที่ประเทศ "อเมริกา" ถูกปกครองโดยนายทุนนักการธนาคารในวอลล์สตรีท ทั้งกำหนดนโยบายต่างประเทศ เผด็จการทางการเงิน โดยเฟด สร้างหนี้สิน สร้างนวัตกรรมการเงินที่สร้างกำไรให้พวกคนแค่ 1 เปอร์เซนท์ แต่สร้างปัญหาการเงิน การว่างงาน ให้กับคนอีก 99 เปอร์เซนท์ที่เหลือ ที่เป็นแค่เสมือนทาสรับใช้สมัยใหม่

... “เลือกตั้งธิปไตย” “ซื้อเสียงธิปไตย” หรือ “ประชาธิปไตย” ก็เป็นแค่อาภรณ์สวยหน้าฉากเปลือกนอกของระบอบการปกครองที่นักวิจัย นักวิชาการฝรั่งระดับรางวัลโนเบลเรียกว่า “ธนาธิปไตย” และ “คณาธิปไตย” แค่นั้นเอง

.
.
... In his book ย, in a section entitled The Politics of Plutocracy, economist Paul Krugman says plutocracy took hold because of three factors: at that time, the poorest quarter of American residents (African-Americans and non-naturalized immigrants) were ineligible to vote, the wealthy funded the campaigns of politicians they preferred, and vote buying was "feasible, easy and widespread", as were other forms of electoral fraud such as ballot-box stuffing and intimidation of the other party's voters.[21]
... The U.S. instituted progressive taxation in 1913, but according to Shamus Khan, in the 1970s, elites used their increasing political power to lower their taxes, and today successfully employ what political scientist Jeffrey Winters calls "the income defense industry" to greatly reduce their taxes.[2

... In 1998, Bob Herbert of The New York Times referred to modern American plutocrats as "The Donor Class"[23][24] (list of top donors)[25] and defined the class, for the first time,[26] as "a tiny group – just one-quarter of 1 percent of the population – and it is not representative of the rest of the nation. But its money buys plenty of access

... When the Nobel-Prize winning economist Joseph Stiglitz wrote the 2011 Vanity Fair magazine article entitled "Of the 1%, by the 1%, for the 1%", the title and content supported Stiglitz's claim that the United States is increasingly ruled by the wealthiest 1%.[40] Some researchers have said the US may be drifting towards a form of oligarchy,

... "analyses suggest that majorities of the American public actually have little influence over the policies our government adopts". Gilens and Page do not characterize the U. S. as an "oligarchy" or "plutocracy" per se; however, they do apply the concept of "civil oligarchy" as used by Jeffrey A. Winters[43] with respect to the US.

.
... เครดิตข่าว ขอขอบคุณ คุณ NineWut Opaspakornkij

คลิก

คลิก

Cr.Jeerachart Jongsomchai

เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

    

Broker Name Regulation Max Leverage Lowest Spreads Minimum Deposit Minimal Lot Contact

230424 icm 100x33

IC Markets

ASIC, FSA, CYSEC 1000:1

0.0 pips -ECN
0.5 pips - Standard

$10 0.01 lot

View Profile

Visit website

XM

FCA, ASIC,IFSC,
CySec
1000 : 1 1 pips – Micro
1 pips – Standard

0 pips - Ultra low
$5 0.01 lots View Profile
Visit Website

http://forex4you.com

Forex4you

FSC of BVI 1000 : 1

0.1 pips - Cent
0.1 pips - Classic
0.1 pips - STP

$1 

0.0001 lot Cent
0.01 lot Classic
0.01 lot STP

Visit website
View Profile

Doo Prime

SEC, FINRA, FCA, ASIC, FSA, FSC 500 : 1 0.1 pips $100 0.01 lots View Profile
Visit Website

 Exness 

CySEC, FCA Unli : 1  Stand
Unli : 1 Raw   
Unli : Zero
0.3 pips – Stand
0 pips – Raw
0 pips – Zero
$1 0.01 lot  Stand
0.01 lot  Raw
0.01 lot  Zero
View Profile
Visit Website

HFMarkets

SV, CySEC, DFSA, FCA, FSCA, FSA, CMA 2000 : 1  0.0 pips $5 0.01 lot View Profile
Visit Website

GMIEDGE

 FCA, VFSC 2000:1 0.1 Pips  $2.5  0.01 lot View Profile
Visit Website

BDSwiss

FSC, FSA 1000 : 1 1.5 pips - Classic
1.1 pips - VIP
0.0 pips - RAW
$10 0.01 lots View Profile
Visit Website

Pepperstone

ASIC,SCB,CYSEC,DFSA,

FCA, BaFIN, CMA,

200 : 1 1 pips - Stand
0.1 pips - Razor
1 pips - No Swap
0 Pips - Active Trade
0 0.01 lot View Profile
Visit Website

TICKMILL

FCA 500:1 1.6 pips $25 0.01 lot View Profile
Visit website
290318 atfx logoATFX FCA, CySEC 200 : 1 1.8 pips $100 0.01 lot View Profile
Visit Website
170803 roboforex logoRoboForex CySEC, IFSC 2000:1 0.4 pips $10 0.01 lot View Profile
Visit Websit

www.fxclearing.com
FXCL Markets

IFSC 500 : 1

1 pips - Micro
1 pips - Mini
0.6 pips - ECN Li
0.8 pips - ECN Inta
1 pips - ECN Sca

$1 0.01 lot View Profile
Visit website

 

AxiTrader

FCA, ASIC, FSP, DFSA 400 : 1  0.0 pips $1 0.01 lot all View Profile
Visit website

http://www.fxprimus.com

FXPRIMUS

CySEC 500 : 1 2 pips - Mini
0.8 pips - Stand
0 pips - ECN
$100 0.01 lot all View Profile
Visit Website

FXTM

CySec ,FCA,IFSC 1000 : 1

0.0 pips - ECN

0.1 pips -Stan

$1 0.01 lot View Profile
Visit Website

AETOS.COM

AETOS

FCA, ASIC, VFSC, CIMA up to 800

Genneral 1.8 pip
Advance 1.2 pip
Pro 0.0 pip

$50
$50
$20,000

0.01 lot View Profile
Visit website

EIGHTCAP

ASIC 500 : 1 0.0 pips  $100 0.01 lot

View Profile

Visit website

 

Fullerton

SFP, NZBN 200 : 1 0.5 pips - Live $200 0.01 lot View Profile
Visit Website

FxPro

CySEC, FCA
FSB, MiFID
500 : 1
Max
0.6 pips  $100 0.01 lot View Profile
Visit Website

INFINOX

 FCA, SCB 400 : 1 0.0 pips $10 0.01 lot  View Profila
Visit Website

VT markets

CIMA, ASIC 500 : 1 0.0 pips $200 0.01 lot  View Profila
Visit Website

TMGM

ASIC 500 : 1 0.0 pips $100 0.01 lot  View Profila
Visit Website

020422 zfx logo

ZFX

FCA, FSA 2000 : 1 0.0 pips

$15

0.01 lot  View Profila
Visit Website

 

ดูตารางเปรียบเทียบโบรกเกอร์ทั้งหมด คลิก

 

 

 

 

 

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"