สัญญาเบาริ่ง พศ.2398 (1855) จุดกำเนิดความจนของ ไพร่สยาม

เป็นสัญญาระหว่าง สยามกับอังกฤษเมื่อ 18 เมษายน พศ. 2398 ( 1855 ) สมัยรัชกาลที่ 4 พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสัญญาที่ไม่เป็นธรรมสำหรับรัฐสยาม

ในเบื้องต้น รัชกาลที่ 4 ท่านดำหริว่าต้องการให้ข้าวราคาสูงจะได้ช่วย “ไพร่สยาม” ชาวบ้าน และในทางการเมือง ต้องการลดอำนาจของ “ขุนนางบางตระกูล” ของฝ่ายปกครอง

อีกสาเหตุหนึ่งที่ต้องรีบทำเพราะ เกรงกลัวอำนาจอังกฤษ ที่ทำการทูตแบบ “เรือปืน” โดยมีตัวอย่างจาก “สงครามฝิ่น ครั้งที่ 1 ( 1839 – 1842 ) ที่อังกฤษใช้เรือปืน ทำสงครามกับจีน ที่ไม่ยอมทำสัญญาจนย่ำแย่ และพม่าที่โดนไปก่อนหน้า

แต่ในความเป็นจริง ไม่ได้สวยงามเหมือนที่วาดฝัน เพราะสาระสำคัญของสัญญาคือ

1) คนในบังคับอังกฤษมี “สิทธิสภาพนอกอาณาเขต” สยาม ( เช่น อังกฤษมีเรื่องกับคนสยาม เช่นชกต่อย ขโมย ชู้สาว ต้องขึ้นศาลอังกฤษเท่านั้น )

2) คนในบังคับอังกฤษ ค้าขายอย่างเสรี ตั้งกงสุล พำนักในเมืองท่าทุกแห่งของ สยาม ในเขตที่ระบุ ซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ในบริเวณดังกล่าวได้

3) อัตราภาษีขาเข้าของสินค้าทุกชนิด ลดจาก10% เหลือ 3% ( น้อยกว่าจีน ญี่ปุ่น 5% ) เลิกเก็บภาษีซ้ำซ้อน และที่สำคัญที่สุด “ห้ามเก็บภาษีฝิ่น” ที่ทำให้คนสยามติดฝิ่นกันมาก ( วิธีการทำให้สยามอ่อนแอของอังกฤษ ที่ใช้กับจีนมาแล้ว )

4) พ่อค้าอังกฤษซื้อขายสินค้าโดยตรงได้กับเอกชนสยาม ( ส่วนใหญ่ “พ่อค้าคนจีน” ที่ไม่ต้องเข้า “เกณฑ์แรงงาน” เหมือน “ไพร่สยาม” ที่เข้า 3 เดือนต่อปี, คนจีนแค่ 3ปี เข้า 1 เดือน จ่ายเงินแทนได้ ) ไม่ต้องผ่าน “ขุนนาง” สยาม ที่เป็น “ตัวแทน” ของ “เจ้านาย” อีกต่อไป

“ผลกระทบ” ที่ตามมา

- แม้ไทยได้วิทยาการก้าวหน้าเช่น ระบบโรงสีข้าว โรงเลื่อยไม้ ระบบธนาคาร ระบบการเดินเรือ แต่ส่วนใหญ่ “ผลประโยชน์” จะตกกับ “พ่อค้า” เป็นส่วนใหญ่ ทั้งของสยามและของอังกฤษ ( รองมาก็ “ขุนนาง” และ “เจ้านาย” บางส่วน )

- ฝรั่งชาติอื่นก็รีบวิ่งมาทำ “สัญญาที่ไม่เป็นธรรม” กับสยามอีก ตามแบบอังกฤษ

- ฝ่าย “รัฐสยาม” ( =เจ้านาย ) ก็ “สูญเสียรายได้ภาษี น้อยลง” ทั้งๆที่ต้อง เริ่มตัดถนน ขยายคูคลอง ทำรถไฟ สร้างสะพาน เพื่ออำนวยการค้าขาย

สร้างอาคารอำนวยความสะดวกของหน่วยงานใหม่ๆที่เกิดขึ้น แต่ไม่มีเงินจะทำ รัฐสยามนับวันยิ่งอ่อนแอ

- ส่วน “ขุนนาง” และ “เจ้านาย” บางส่วนก็หาทางออกโดยการ “ร่วมทุนกับพ่อค้า” ทั้งสองฝั่ง เพราะขุนนางส่วนใหญ่ก็เป็นพ่อค้ามาก่อน มีสายสัมพันธ์ที่แนบแน่น จึงรอดตัวไป

- "ทางออก ของ รัฐสยาม"

คือ “เก็บภาษีให้หนักขึ้น” จึงเกิดการรีดส่วย ภาษี มากขึ้น มีระบบภาษียุบยิบย่อยมากมาย ที่เก็บทั้งจาก “เจ้าภาษีนายอากร” และ “ไพร่” ที่ทั้งต้องส่งส่วย และ ต้องจ่ายภาษีที่หนักขึ้น จนเกิด “กบฏ” จากคนชนชั้นกรรมกร ชาวบ้านมากมาย ( ฝิ่น สุรา ข้าว ดีบุก เกลือ พริก บ่อนหวย )

- เช่น "กบฏผู้มีบุญอีสาน" หรือ การก่อความวุ่นวายต่อต้าน “ภาษีดีบุก” ของ “กุลีจีนชนชั้นแรงงาน” ทางภาคใต้ ที่ต้องทำเพราะทนความลำบากไม่ไหว ( “พ่อค้า” และ “ขุนนาง” ที่ร่ำรวยจาก ดีบุก มีไม่กี่ตระกูล ) เป็นต้น

( ในกรณีที่อีสานนั้น ทำให้เกิดภาพฝังใจเรื่อง การที่ “เจ้านาย” เอาเปรียบขูดรีดภาษีมาจากตอนนั้น เพราะไม่เข้าใจภาพรวมจาก “สัญญาเบาริ่ง” เป็นภาพที่ฝังใจ จน”คอมมิวนิสต์” จอมฉวยโอกาสมาตอกย้ำอีก )

- แม้จะมีเวลา 8 เดือนต่อปีทำนาของตัวเอง ( ที่ยังเป็นที่หลวง ) ราคาข้าวสูงขึ้นบ้าง แต่ระบบผูกขาดแบบ “เจ้าภาษีนายอากร” ทำให้ผลประโยชน์ไปตกอยู่ที่ “พ่อค้ากระฎุมพี” “ขุนนาง” และ “เจ้านาย”บางส่วน ตามลำดับ เป็นส่วนใหญ่

- โดยที่ “ไพร่” ได้แต่ทำงานหนักกว่าเดิม เพราะภาษีก็มากมาย ยิบย่อยเป็นเงาตามตัว ไม่นับค่า “ภาษีส่วย” ของ”ไพร่ส่วย” ที่ต้องจ่าย หรือ “ไพร่สม” ก็ต้องทำให้ “ขุนนาง” ที่สังกัดรวยมากกว่า เช่นที่อีสานก่อนที่จะมี “สัญญาเบาริ่ง” คนอีสานส่วนใหญ่อยู่กินในวิถีแบบพอเพียง ไม่จำเป็นต้องใช้ “เงิน” แต่อย่างใด แต่พอมี “ภาษีส่วย” ทำให้ต้องทำงานหนักกว่าเดิมเพื่อหาเงินมา จ่ายส่วย ใครไม่มีเงินก็ต้องถูกเกณฑ์แรงงานไปใช้ด้านอื่น บางคนถูกเกณฑ์ไปต่างจังหวัดไกลบ้านแรมเดือน ปี ครอบครัวก็แตกแยก ความสุขจากวิถีชีวิตแบบเดิมๆ ก็หายไป

- หลายปีผ่านปี หลังจาก “สัญญาเบาริ่ง” อำนาจต่างๆยังอยู่ที่ “พ่อค้ากระฎุมพี” ( ที่ค้าขายเก่ง และมีเส้นสายกับขุนนาง และ เจ้านาย ) “ขุนนาง” “เจ้านาย” แม้อำนาจกฎเกณฑ์ต่างๆ “เจ้านาย” ( และขุนนาง ) จะกำหนดได้ แต่ “อำนาจเงินทอง” จะตกอยู่ที่ “พ่อค้ากระฎุมพี” และ “ขุนนาง” คนสามกลุ่มนั้นได้ “กุมชะตา” ชีวิตของ “ประเทศสยาม” และ “ไพร่” ตลอดมา

2475 ของคณะราษฎร ในสายตาของ “ไพร่” จึงไม่มีผลอะไร ที่เป็น “ผลประโยชน์” ที่เป็นรูปธรรมที่จะตกต่อ “ไพร่” เลย เพราะยังมีความเป็นอยู่อย่างเดิม เพียงแต่ “ถูกหลอกใช้” เสียมากกว่า แม้จะช่วยแก้ไข “สัญญาเบาริ่ง” และที่กับประเทศอื่นๆที่ไม่เป็นธรรม หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 แต่โดยรวม “ไพร่สยาม” ยังจนเหมือนเดิม

2555 มาถึง ครบ 157 ปีของวันเริ่ม “สัญญาเบาริ่ง” แม้ “สัญญาเบาริ่ง” จะถูกยกเลิกไป แต่จากสิ่งที่ได้รู้ ได้เห็นจากประวัติศาสตร์ตลอดมา คงจะปฎิเสธไม่ได้ว่า สัญญานั้นได้ “ผลักไส” และ “เขวี้ยงขว้าง” “ไพร่” จากสังคมที่ไม่ต้องการเงิน ไม่ต้องการร่ำรวย อยู่กับท้องทุ่งไร่นา แต่กลับต้องมากลายเป็น “ความจน” และเป็น “คนจน” ไร้เงินทอง ไร้เกียรติและศักดิ์ศรีในสังคม “ศักดินา” ของคนทั้งสามกลุ่มดังกล่าว ในท้ายที่สุด

แม้ “สัญญาเบาริ่ง” จะไม่ใช่ทั้งหมดของ “ผลรวมความยากจนในปัจจุบัน” ของ”ไพร่สยาม” แต่มันคือ “จุดเริ่มต้นของความจน ของ ไพร่สยาม” อย่างที่แม้แต่สวรรค์ก็ปฎิเสธไม่ได้ อย่างแน่นอน

เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b
Line ID:@fxhanuman

    

Broker Name Regulation Max Leverage Lowest Spreads Minimum Deposit Minimal Lot Contact
221124 trive logo 100x33px

Trive

FCA, ASIC, FSC 2000:1

0.0 pips -ECN
0.5 pips - Standard

$20 0.01 lot

View Profile

Visits website

XM

FCA, ASIC,IFSC,
CySec
1000 : 1 1 pips – Micro
1 pips – Standard

0 pips - Ultra low
$5 0.01 lots View Profile
Visit Website

http://forex4you.com

Forex4you

FSC of BVI 1000 : 1

0.1 pips - Cent
0.1 pips - Classic
0.1 pips - STP

$1 

0.0001 lot Cent
0.01 lot Classic
0.01 lot STP

Visit website
View Profile

Doo Prime

SEC, FINRA, FCA, ASIC, FSA, FSC 500 : 1 0.1 pips $100 0.01 lots View Profile
Visit Website

 Exness 

CySEC, FCA Unli : 1  Stand
Unli : 1 Raw   
Unli : Zero
0.3 pips – Stand
0 pips – Raw
0 pips – Zero
$1 0.01 lot  Stand
0.01 lot  Raw
0.01 lot  Zero
View Profile
Visit Website

HFMarkets

SV, CySEC, DFSA, FCA, FSCA, FSA, CMA 2000 : 1  0.0 pips $5 0.01 lot View Profile
Visit Website

GMIEDGE

 FCA, VFSC 2000:1 0.1 Pips  $2.5  0.01 lot View Profile
Visit Website

150702 icmarkets logo

IC Markets

ASIC, FSA, CYSEC 1000:1 0.0 pips -ECN
0.5 pips - Standard
$10 0.01 lot

View Profile

Visit website

BDSwiss

FSC, FSA 1000 : 1 1.5 pips - Classic
1.1 pips - VIP
0.0 pips - RAW
$10 0.01 lots View Profile
Visit Website

Pepperstone

ASIC,SCB,CYSEC,DFSA,

FCA, BaFIN, CMA,

200 : 1 1 pips - Stand
0.1 pips - Razor
1 pips - No Swap
0 Pips - Active Trade
0 0.01 lot View Profile
Visit Website

TICKMILL

FCA 500:1 1.6 pips $25 0.01 lot View Profile
Visit website
290318 atfx logoATFX FCA, CySEC 200 : 1 1.8 pips $100 0.01 lot View Profile
Visit Website
170803 roboforex logoRoboForex CySEC, IFSC 2000:1 0.4 pips $10 0.01 lot View Profile
Visit Websit

www.fxclearing.com
FXCL Markets

IFSC 500 : 1

1 pips - Micro
1 pips - Mini
0.6 pips - ECN Li
0.8 pips - ECN Inta
1 pips - ECN Sca

$1 0.01 lot View Profile
Visit website

 

AxiTrader

FCA, ASIC, FSP, DFSA 400 : 1  0.0 pips $1 0.01 lot all View Profile
Visit website

http://www.fxprimus.com

FXPRIMUS

CySEC 500 : 1 2 pips - Mini
0.8 pips - Stand
0 pips - ECN
$100 0.01 lot all View Profile
Visit Website

FXTM

CySec ,FCA,IFSC 1000 : 1

0.0 pips - ECN

0.1 pips -Stan

$1 0.01 lot View Profile
Visit Website

AETOS.COM

AETOS

FCA, ASIC, VFSC, CIMA up to 800

Genneral 1.8 pip
Advance 1.2 pip
Pro 0.0 pip

$50
$50
$20,000

0.01 lot View Profile
Visit website

EIGHTCAP

ASIC 500 : 1 0.0 pips  $100 0.01 lot

View Profile

Visit website

 

Fullerton

SFP, NZBN 200 : 1 0.5 pips - Live $200 0.01 lot View Profile
Visit Website

FxPro

CySEC, FCA
FSB, MiFID
500 : 1
Max
0.6 pips  $100 0.01 lot View Profile
Visit Website

INFINOX

 FCA, SCB 400 : 1 0.0 pips $10 0.01 lot  View Profila
Visit Website

VT markets

CIMA, ASIC 500 : 1 0.0 pips $200 0.01 lot  View Profila
Visit Website

TMGM

ASIC 500 : 1 0.0 pips $100 0.01 lot  View Profila
Visit Website

020422 zfx logo

ZFX

FCA, FSA 2000 : 1 0.0 pips

$15

0.01 lot  View Profila
Visit Website

 

ดูตารางเปรียบเทียบโบรกเกอร์ทั้งหมด คลิก

 

 

 

 

 

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"