ราษฎรคนใดก็ตามที่ให้เงินยืมต่อรัฐบาลจะได้รับเอกสาร certificate ที่ยืนยันว่ารัฐบาลจะจ่ายดอกเบี้ยให้

ในปี 1157 สาธารณรัฐเวนิสอยู่ในช่วงของสงครามและกำลังต้องการเงินอย่างสิ้นหวัง นี่ไม่ใช่เรื่องใหม่ที่รัฐบาลไหนที่ทำสงครามก็ต้องการเงิน ..แต่รัฐบาลเวนิสเริ่มใช้ไอเดียนี้เป็นรายแรก นั่นคือ....

ราษฎรคนใดก็ตามที่ให้เงินยืมต่อรัฐบาลจะได้รับเอกสาร certificate ที่ยืนยันว่ารัฐบาลจะจ่ายดอกเบี้ยให้ ...certificate นี้สามารถเปลี่ยนมือได้ ดังนั้นรัฐบาลจะจ่ายดอกเบี้ยและชำระคืนแก่ผู้ที่ถือครอง ณ เวลานั้นเท่านั้น

นี่ทำให้เอกสารการให้กู้ต่อรัฐบาลถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินระดับดีเยี่ยมหรือ asset-one ที่ขายต่อให้นักลงทุนอื่นๆได้ในอนาคต

และนี่คือพันธบัตรรัฐบาลหรือบอนด์ฉบับแรก แนวคิดนี้ได้สร้างตลาดการซื้อขายหลักทรัพย์ที่แข็งแกร่งที่สุดให้กับนักลงทุนยุคนั้น

เมื่อใดที่รัฐบาลดวงซวยทำให้ผู้คนสงสัยว่าจะจ่ายดอกเบี้ยได้หรือเปล่า ราคาพันธบัตรก็ตก แต่เมื่อใดที่ประชาชนเกิดความเชื่อถือในรัฐบาล ราคาก็จะขึ้น

ซึ่งก็ไม่ได้ต่างจากทุกวันนี้เลย รัฐบาลก็ยังกู้ยืมโดยการออกพันธบัตร และมันก็กระจายเข้าสู่ตลาดที่มีนักลงทุนมากมายซื้อขายกันอยู่วันต่อวัน ราคามีการขึ้นลงตลอด

หนึ่งใน factor ที่กระทบราคาบอนด์ก็คืออัตราดอกเบี้ย เมื่ออัตราสูงขึ้น ราคาบอนด์ในตลาดก็จะตก เมื่ออัตราลดลง ราคาก็จะขึ้น มันจะเคลื่อนไหวตรงข้ามกันตลอด

ตอนที่รัฐบาลเวนิสเริ่มออกบอนด์เมื่อศตวรรษที่ 12 นั้น อัตราดอกเบี้ยมันสูงจนคนปัจจุบันช้อคเลย มันเคลื่อนไหวอยู่ระหว่าง 12% ถึง 20% ..ในฝรั่งเศสและอังกฤษยุคกลาง ดอกเบี้ยเคยสูงถึง 80% เลยทีเดียว

ไม่ต้องบอกเลยว่าพวกแบ้งค์เจ้าเล่ห์เข้ามายุ่งด้วยทันทีไม่นานหลังจากนั้น พวกนี้เรียนรู้เร็วมากว่าถ้าได้คุมหนี้รัฐบาลเอาไว้ได้ล่ะก็ นั่นคือการคุมอำนาจรัฐไว้เลยแหละ ...นายธนาคารจึงมีอำนาจเหนือรัฐบาลด้วยประการฉะนี้

ในหนังสือ History of the Businessman ของ Miriam Beard อธิบายไว้ว่า นักการเมืองในยุคกลางของรัฐ Genoa ในอิตาลี ต้องให้สัตย์ปฏิญานต่อเหล่าธนาคารก่อนที่จะเข้ารับตำแหน่งเลยแหละ ..นี่ ถึงขนาดนี้

นี่มันคือจุดเริ่มต้นของสัมพันธภาพที่ยาวนาน, ลึกซึ้งและการช่วยเหลือกันระหว่าง แบ้งค์กับรัฐบาล (ของไทยน่าจะเจ้าสัวกับรัฐบาล)

ธนาคารช่วยซื้อพันธบัตรรัฐบาล ช่วยสนับสนุนให้รัฐบาลมีเงินใช้ในแพ้คเกจต่างๆ ให้อยู่ในอำนาจ ...ส่วนรัฐบาลก็คอยช่วยอุ้มแบ้งค์ (bailout) ถ้ามันใกล้จะเจ๊ง .....ลองนึกถึงเหี้ยสองตัวที่ผลัดกันเกาหลังให้กันดูดิ จะได้เห็นภาพชัดเจน (ประโยคหลังนี้ไม่มีในต้นฉบับจ้า...อิอิ)

ทั้งหลายทั้งปวงนี้ ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ใช้เงินตัวเองเลย ..เงินของท่านๆทั้งสองกรณีเลย ..ธนาคารให้รัฐบาลกู้จากเงินฝากของท่าน ส่วนรัฐบาลก็ bailout ธนาคารจากเงินภาษีของท่าน

ตอนนี้มันก้าวไปอีกขั้นแล้ว พวกเขารวมหัวกันใช้วิธีพิมพ์เงินออกมาดื้อๆ.. ใช้ได้ทั้งสองกรณีเลย ...เมื่อเกิดวิกฤติการเงินสิบปีมาแล้วตั้งแต่ 2008 ธนาคารกลางทั่วโลกได้สร้างเงินออกมานับล้านล้านดอลล่าร์ ยูโร..เยน etc. ไว้ในมือของทั้งรัฐบาลและแบ้งค์ต่างๆ

US Federal Reserve เจ้าเดียวก็ล่อเข้าไปถึง $4 ล้านล้าน ส่วนใหญ่ให้รัฐบาลกลางสหรัฐกู้ด้วยอัตราดอกเบี้ยต่ำสุดๆเป็นประวัติการณ์

และด้วยกฏของอัตราดอกเบี้ยกับราคาบอนด์ที่เรากล่าวถึงตอนต้น มันก็กำลังเกิดขึ้น

ตอนที่ Fed ทำ QE ซื้อพันธบัตรจากตลาดนับล้านล้านดอลล่า์เข้ามาเก็บไว้น่ะ เป็นช่วงดอกเบี้ยต่ำสุดๆ ราคาบอนด์ก็สูงสุดๆ

และแล้วในช่วงสองปีมานี้ Fed ก็มีเหตุให้ต้องขึ้นดอกเบี้ยอย่างช้าๆ ..แต่ละครั้งที่ขึ้น ราคาของพันธบัตรที่ซื้อมาเก็บใน Balance Sheet ก็ลดลง

ฟังดูก็บ้าดี ตัวเองก็ขึ้นดอกเบี้ย ของที่ตัวเองซื้อมาเก็บไว้ก็ราคาตกลงไปเพราะดอกเบี้ยขึ้น ....ทำต่อไปเรื่อยๆก็เท่ากับสร้างความฉิบหายให้ตัวเองไปเรื่อยๆ

แต่มันก็เกิดขึ้นตามนั้นซะด้วยซี

เมื่อวานนี้เอง Fed ก็ได้ออกรายงาน financial statements ออกมาโชว์ให้เห็นว่าตอนนี้บอนด์ในมือที่ซื้อเข้ามาน่ะ ราคาหายไป $66,500 ล้านแล้ว นี่มันมากกว่าทุนของ Fed ที่มีอยู่ $39,000 ล้าน

หมายความว่า ถ้าตีราคาทรัพย์สินในมือตามมูลค่าตลาดหรือที่เรียกว่า mark-to-market แล้วล่ะก็ ...สถาบันการเงินที่สำคัญแห่งนี้น่ะ มันเจ๊งแล้วนะ

ประเทศนี้ปล่อยให้คนกลุ่มหนึ่งตั้งตัวเองเป็นคณะกรรมการที่ไม่ได้มีการเลือกตั้งเข้ามา สามารถเนรมิตเงินนับล้านล้านดอลล่าร์จากกลางอากาศ แถมทำตัวเองจนเจ๊ง แล้วก็มาสนับสนุนฐานะการคลังของประเทศ ทั้งหมดนี้จากหยาดเหงื่อแรงงานของเราๆท่านๆนี่เอง

ที่น่าแปลกก็คือ ไม่มีใครสังเกตุเห็นเลยหรือ ..ต้องให้หนังสือพิมพ์พาดหัวก่อนหรือว่า "Fed ล้มละลายแล้ว"

แต่ที่จริงแล้ว รัฐบาลของเกือบทุกประเทศโลกตะวันตกน่ะ มันล้มละลายหรือเจ๊งกันแล้ว

ทำราวกับว่า ไม่เป็นไรหรอก ที่รัฐบาลของประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญที่สุดในโลกขาดดุลปีละ $1 ล้านล้าน ..เป็นหนี้ $22 ล้านล้าน ..มีหนี้ที่ไร้หลักประกัน unfunded liabilities อีกเกิน $30 ล้านล้าน ..มีหนี้เกินอัตรา debt-to-GDP ไปเกิน 100% อีกตาหาก

แล้วยังมีธนาคารกลางที่ล้มละลาย....โดยการคำนวนทรัพย์สิน mark-to-market ..จากรายงานที่ตัวเองประกาศเองนะนั่น

มันยากที่จะจินตนาการหาจุดจบของเรื่องนี้..จากกรณีที่มีข้อมูลแบบนี้จริงๆ

ความไม่รู้..การมองโลกแง่ดีแบบไร้เหตุผล..มักจะนำไปสู่...จุดสูงสุด..การตกต่ำ .... และ....วิกฤติ

ครั้งนี้ก็เหมือนกัน ..ไม่มีอะไรต่าง

Cr.Sayan Rujiramora

สนับสนุนข่าวโดย ICMarkets
เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

    

Broker Name Regulation Max Leverage Lowest Spreads Minimum Deposit Minimal Lot Contact

230424 icm 100x33

IC Markets

ASIC, FSA, CYSEC 1000:1

0.0 pips -ECN
0.5 pips - Standard

$10 0.01 lot

View Profile

Visit website

XM

FCA, ASIC,IFSC,
CySec
1000 : 1 1 pips – Micro
1 pips – Standard

0 pips - Ultra low
$5 0.01 lots View Profile
Visit Website

http://forex4you.com

Forex4you

FSC of BVI 1000 : 1

0.1 pips - Cent
0.1 pips - Classic
0.1 pips - STP

$1 

0.0001 lot Cent
0.01 lot Classic
0.01 lot STP

Visit website
View Profile

Doo Prime

SEC, FINRA, FCA, ASIC, FSA, FSC 500 : 1 0.1 pips $100 0.01 lots View Profile
Visit Website

 Exness 

CySEC, FCA Unli : 1  Stand
Unli : 1 Raw   
Unli : Zero
0.3 pips – Stand
0 pips – Raw
0 pips – Zero
$1 0.01 lot  Stand
0.01 lot  Raw
0.01 lot  Zero
View Profile
Visit Website

HFMarkets

SV, CySEC, DFSA, FCA, FSCA, FSA, CMA 2000 : 1  0.0 pips $5 0.01 lot View Profile
Visit Website

GMIEDGE

 FCA, VFSC 2000:1 0.1 Pips  $2.5  0.01 lot View Profile
Visit Website

BDSwiss

FSC, FSA 1000 : 1 1.5 pips - Classic
1.1 pips - VIP
0.0 pips - RAW
$10 0.01 lots View Profile
Visit Website

Pepperstone

ASIC,SCB,CYSEC,DFSA,

FCA, BaFIN, CMA,

200 : 1 1 pips - Stand
0.1 pips - Razor
1 pips - No Swap
0 Pips - Active Trade
0 0.01 lot View Profile
Visit Website

TICKMILL

FCA 500:1 1.6 pips $25 0.01 lot View Profile
Visit website
290318 atfx logoATFX FCA, CySEC 200 : 1 1.8 pips $100 0.01 lot View Profile
Visit Website
170803 roboforex logoRoboForex CySEC, IFSC 2000:1 0.4 pips $10 0.01 lot View Profile
Visit Websit

www.fxclearing.com
FXCL Markets

IFSC 500 : 1

1 pips - Micro
1 pips - Mini
0.6 pips - ECN Li
0.8 pips - ECN Inta
1 pips - ECN Sca

$1 0.01 lot View Profile
Visit website

 

AxiTrader

FCA, ASIC, FSP, DFSA 400 : 1  0.0 pips $1 0.01 lot all View Profile
Visit website

http://www.fxprimus.com

FXPRIMUS

CySEC 500 : 1 2 pips - Mini
0.8 pips - Stand
0 pips - ECN
$100 0.01 lot all View Profile
Visit Website

FXTM

CySec ,FCA,IFSC 1000 : 1

0.0 pips - ECN

0.1 pips -Stan

$1 0.01 lot View Profile
Visit Website

AETOS.COM

AETOS

FCA, ASIC, VFSC, CIMA up to 800

Genneral 1.8 pip
Advance 1.2 pip
Pro 0.0 pip

$50
$50
$20,000

0.01 lot View Profile
Visit website

EIGHTCAP

ASIC 500 : 1 0.0 pips  $100 0.01 lot

View Profile

Visit website

 

Fullerton

SFP, NZBN 200 : 1 0.5 pips - Live $200 0.01 lot View Profile
Visit Website

FxPro

CySEC, FCA
FSB, MiFID
500 : 1
Max
0.6 pips  $100 0.01 lot View Profile
Visit Website

INFINOX

 FCA, SCB 400 : 1 0.0 pips $10 0.01 lot  View Profila
Visit Website

VT markets

CIMA, ASIC 500 : 1 0.0 pips $200 0.01 lot  View Profila
Visit Website

TMGM

ASIC 500 : 1 0.0 pips $100 0.01 lot  View Profila
Visit Website

020422 zfx logo

ZFX

FCA, FSA 2000 : 1 0.0 pips

$15

0.01 lot  View Profila
Visit Website

 

ดูตารางเปรียบเทียบโบรกเกอร์ทั้งหมด คลิก

 

 

 

 

 

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"