... ข้อมูลของปี 2017 นั้น ร้อยละ 89.2 ของน้ำมันนำเข้าของ "จีน" มาจาก 15 ประเทศเหล่านี้ ทั้ง "รัสเซีย" อันดับ 1 ที่ ร้อยละ 14.6, "ซาอุดิอาระเบัย" ร้อยละ 12.6, อังโกล่า 12.2, อิรัก 8.5 , โอมาน 7.5 , อิหร่าน 7.3 บราซิล5.4 คูเวต 4.4 เวเนซุเอล่า 4
ยูเออี2.5 อังกฤษ คองโก โคลัมเบีย อเมริกา และ มาเลเซีย , "จีน" จึงต้องผูกมิตรเอาใจทางการค้า การทูต กับประเทศเหล่านั้น
... และเกือบทั้งหมดต้องขนส่งมาจากทางทิศตะวันตก ที่ต้องผ่านช่องแคลมะละกา และทะเลจีนใต้ เพื่อจะขึ้นฝั่งและเก็บในโกดังของประเทศจีนที่ส่วนใหญ่อยู่ทางตะวันตก แล้วกระจายไปสู่ส่วนต่างๆของประเทศจีนต่อไป
... "จีน" จึงต้องการลดค่าขนส่งให้ถูกลงและเวลาเดินทางให้สั้นขึ้น จึงเกิดโครงการสองเส้นทางข้างล่าง
... "จีน" จึงทำส่วนต่อขยาย "ทางสายไหมใหม่" CPEC ระหว่าง จีนตะวันตกกับปากีสถาน เพื่อออกมหาสมุทรอินเดียที่เมือง Gwadar ของปากีสถาน ที่เวเนซุเอล่าก็ไม่สามารถผ่านคลองปานามาได้ เพราะเรือใหญ่เกินไป ต้องผ่านแหลมกู้ดโฮปของอาฟริกา
... "พม่า" นั้นที่เมืองเจ้าผิว เมืองหลวงของรัฐยะไข่ ( ที่กำลังถูกสกัดเส้นทางนี้จากกรณ๊โรฮีนจา ) ก็สา้มารต่อเชื่อมอ่าวเบงกอลกับจีนตอนใต้ได้
... “อเมริกา” นั้นเป็นทั้งผู้ขายน้ำมันให้ “จีน” ขณะเดียวกัน อีกบทบาทหนึ่งก็เป็นคู่แข่งทางการค้า การเงิน จึงสกัดการเจริญเติบโตของจีนด้วย ทั้งการขนส่งทางเรือเส้นทางหลักผ่านช่องแคบมะละกาและทะเลจีนใต้ ทั้งปัญหาเกาหลีเหนือ ไต้หวัน หรือปัญหาหมู่เกาะสแปรตลี่ย์กับประเทศในอาเซี่ยน หรือเส้นทางใหม่ ที่พม่าและยะไข่ กรณีโรฮีนจาด้วย
Cr.Jeerachart Jongsomchai
สนับสนุนข่าวโดย ICMarkets
เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b
Line ID:@fxhanuman
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/