forex_calendar

1.  ตั้งเวลาให้ตรงกับประเทศไทยคือ (GMT+7:00) Bangkok, Hanoi, Jakarta
2.  ไว้สำหรับเลือกวันที่ต้องการดูข่าว
3.  เวลาข่าวออก
4.  ตระกูลเงินของข่าว
5.  ความรุนแรงของข่าว
6.  เหตุการณ์ของข่าว
7.  ค่าตัวเลขจริงที่ออก
8.  ค่าตัวเลขคาดการณ์
9.  ค่าตัวเลขครั้งก่อน

forex_calendar

เมื่อถึงเวลาข่าวออกตัวเลขค่าจริงจะแสดงออกมาในช่อง Actual ซึ่งจะมีสีแตกต่างกันดังนี้

  • ตัวเลขออกเป็นสีเขียวแสดงตัวเลขดีกว่าที่คาดการณ์ไว้
  • ตัวเลขออกเป็นสีแดงแสดงว่าตัวเลขแย่กว่าที่คาดการณ์ไว้
  • ตัวเลขออกเป็นสีดำแสดงว่าตัวเลขเท่ากับค่าที่คาดการณ์หรือใกล้เคียงกับสถิติเดิม (Previous)

 

สิ่งที่ต้องสนใจในการเทรดข่าว Forex

 

1.  เรื่องค่าสกุลเงิน ถ้าเทรดสกุลไหนก็ต้องสนใจเฉพาะสกุลนั้น เช่นถ้าเราเช่น EUR/USD ก็สนใจเฉพาะข่าวของ USD และ EUR และเราต้องรู้ด้วยว่าถ้าข่าวออกมาจะทำให้ค่าเงินเราขึ้นหรือลง เช่น ถ้าเราเล่น EUR/USD ถ้าข่าวดอลลาร์สหรัฐออกมาดีแสดงคู่เงินที่มี USD อยู่หลังกราฟจะลง แต่ถ้าข่าว USD ออกมาไม่ดีกราฟจะขึ้น ในทางกลับกันถ้าข่าว EUR ออกมาดีกราฟจะขึ้นแต่ถ้าข่าว EUR ออกมาไม่ดีกราฟจะลง

2. เรื่องระดับความแรงของข่าว ระดับความแรงขอข่าวจะมีสามระดับดังรูป

forex_calendar

3. ค่าตัวเลขจริงที่ออก(Actual) ถ้าค่าตัวเล่นจริงที่ออกมาต่างจากค่าก่อนหน้า(Previous)มาก ยิ่งมีผลทำให้ค่าเงินวิ่งขึ้นลงแรงมาก แต่ก็ขึ้นอยู่กับความแรงของข่าวด้วย

ในขณะที่เราจะต้องเจอกับเงินเฟ้อรุนแรง (hyperinflation) แน่ๆเพราะปริมาณเงินที่พิมพ์มามากมาย ...มันจะเกิดอยู่นานแค่ไหนและจะหยุดมันอย่างไร

Lynette.....ถ้าจะเดาก็คิดว่าน่าจะต้องอยู่กับเราอย่างน้อยสิบปี มันจะเป็นช่วงเวลาของการ burning off หนี้ทั้งหมดที่มีอยู่โดยชำระคืนเป็นดอลล่าร์ซึ่งมูลค่าของมันก็ลดลงมาตลอด ..ไม่ใช่เป็นการชักดาบก็เหมือนใช่ คือพิมพ์เงินอีกเพื่อมาชำระหนี้พันธบัตรทั้งหมด

ส่วนที่จะหยุดมันอย่างไร ก็ต้องดูจากหลายประเทศในโลกที่กำลังมีเงินเฟ้อรุนแรงอยู่ขณะนี้ เห็นได้แบบเรียลไทม์เลย ทั้งเวเนซูล่า อาร์เจนติน่า และยังจะมีอีกหลายแห่ง ซึ่งแต่ละแห่งก็พิมพ์เงินเพิ่มอยู่ตลอด

ในช่วง hyperinflation..สหรัฐก็จะต้องพิมพ์เงินเพิ่มเพื่อมาชำระหนี้พันธบัตรด้วย แต่เงินก็จะออกมาในระบบมากขึ้นอีก..จนต้องกำจัดทิ้ง ....อินเดียถือเป็นกรณีศึกษาตอนที่พวกเขากำจัดเงินถึง 85% ที่หมุนเวียนอยู่ในตลาด (demonetized) โดยกำหนดวันที่เงินเหล่านั้นจะใช้ไม่ได้ ....ทำให้สหรัฐเห็นถึงวิธีและสามารถกำหนดแผน โดยให้ประชาชนสมัครใจเลิกใช้เงินสด ....เงินใหม่ที่ออกมาในระบบจะมีอายุการใช้โดยมี time-stamp chip ฝังอยู่

และนี่เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่มีนโยบายดอกเบี้ยติดลบอีกด้วย ซึ่งไม่ว่าคุณจะถือเงินสดไว้หรือเข้าบัญชีธนาคาร มันก็จะหมดค่าสักวันหนึ่งอยู่ดี อัตราดอกเบี้ยติดลบ..เช่น -10% จะเป็นตัวกำหนดว่า เงินของคุณจะเหลือมูลค่าศูนย์เมื่อสิบปีพอดี ...ดังนั้นคุณก็ต้องรีบใช้เงินนี้ ...เป็นการเตรียมการเข้าสู่ cashless แบบค่อยเป็นค่อยไป
.....เรื่องทั้งหมดนี้ ได้อ่านมาจากเอกสารของ IMF เร็วๆนี้

การจูงใจให้เลิกใช้เงินสดยังมีอีกหลายอย่าง อาจเป็นจากราคาสินค้า เช่นกาแฟในสตาร์บัค ถ้าเป็นบัตรเครดิตจะถูกกว่าการใช้เงินสด

เมื่อดอกเบี้ยอยู่ต่ำกว่า zero bound เมื่อไหร่ ..IMF ก็พร้อมและมี flowchart แสดงให้เห็นแล้วว่าจะดำเนินการเรื่องนี้ได้เลยในเวลานับแค่สัปดาห์..ในช่วงวิกฤติครั้งต่อไป

รัฐบาลกลางต้องการให้เกิดสังคมไร้เงินสด เพราะมันจะควบคุมคุณได้ง่ายขึ้น เช่นการเสียภาษีก็แค่หักจากบัญชีคุณไม่ว่าคุณจะยินดีหรือไม่ ...ส่วนธนาคารก็สามารถโจมตีเงินทุนของคุณได้ง่ายๆ ซึ่งที่ผ่านมาก็กำหนดดอกเบี้ยต่ำจนจะต้องติดลบในไม่ช้า

ในอดีตตั้งแต่ตอนร่างรัฐธรรมนูญ เป็นการยกให้ปัจเจกชนอยู่บนยอดสุดของปิรามิด หนุนโดยรัฐบาลท้องถิ่น และหนุนอีกชั้นโดยรัฐบาลกลาง ...แต่มาวันนี้มันกลับกันไปแล้ว รัฐบาลกลางอยู่บนยอดสุด ...พวกเขาไม่ได้ต้องการให้คุณเข้าใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นทั้งหมดหรอก

ระบบทั้งหมดนี้ มันเป็นอัจฉริยะแบบ evil genious จริงๆ

Cr.Sayan Rujiramora

เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
Web : https://www.fxhanuman.com
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

#forex #ลงทุน #peppers #xm #fbs #exness #uag #icmarkets #avatrade #fxtm #tickmill #fxpro #fxopen #fxcl #forex3d #forex4you

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"