forex_calendar

1.  ตั้งเวลาให้ตรงกับประเทศไทยคือ (GMT+7:00) Bangkok, Hanoi, Jakarta
2.  ไว้สำหรับเลือกวันที่ต้องการดูข่าว
3.  เวลาข่าวออก
4.  ตระกูลเงินของข่าว
5.  ความรุนแรงของข่าว
6.  เหตุการณ์ของข่าว
7.  ค่าตัวเลขจริงที่ออก
8.  ค่าตัวเลขคาดการณ์
9.  ค่าตัวเลขครั้งก่อน

forex_calendar

เมื่อถึงเวลาข่าวออกตัวเลขค่าจริงจะแสดงออกมาในช่อง Actual ซึ่งจะมีสีแตกต่างกันดังนี้

  • ตัวเลขออกเป็นสีเขียวแสดงตัวเลขดีกว่าที่คาดการณ์ไว้
  • ตัวเลขออกเป็นสีแดงแสดงว่าตัวเลขแย่กว่าที่คาดการณ์ไว้
  • ตัวเลขออกเป็นสีดำแสดงว่าตัวเลขเท่ากับค่าที่คาดการณ์หรือใกล้เคียงกับสถิติเดิม (Previous)

 

สิ่งที่ต้องสนใจในการเทรดข่าว Forex

 

1.  เรื่องค่าสกุลเงิน ถ้าเทรดสกุลไหนก็ต้องสนใจเฉพาะสกุลนั้น เช่นถ้าเราเช่น EUR/USD ก็สนใจเฉพาะข่าวของ USD และ EUR และเราต้องรู้ด้วยว่าถ้าข่าวออกมาจะทำให้ค่าเงินเราขึ้นหรือลง เช่น ถ้าเราเล่น EUR/USD ถ้าข่าวดอลลาร์สหรัฐออกมาดีแสดงคู่เงินที่มี USD อยู่หลังกราฟจะลง แต่ถ้าข่าว USD ออกมาไม่ดีกราฟจะขึ้น ในทางกลับกันถ้าข่าว EUR ออกมาดีกราฟจะขึ้นแต่ถ้าข่าว EUR ออกมาไม่ดีกราฟจะลง

2. เรื่องระดับความแรงของข่าว ระดับความแรงขอข่าวจะมีสามระดับดังรูป

forex_calendar

3. ค่าตัวเลขจริงที่ออก(Actual) ถ้าค่าตัวเล่นจริงที่ออกมาต่างจากค่าก่อนหน้า(Previous)มาก ยิ่งมีผลทำให้ค่าเงินวิ่งขึ้นลงแรงมาก แต่ก็ขึ้นอยู่กับความแรงของข่าวด้วย

เรามักพูดถึงการรีเซ็ททางการเงินที่จะเกิดชั่วข้ามคืน

เหมือนกับจะบอกว่าเราจะต้องเปลี่ยนจากเงินเฟียตไปเป็นเงินที่อิงกับทองคำ 25% หรือ 33% ทันทีเลยใช่หรือไม่ Lynette....ขนาดของเศรษฐกิจโลกมันใหญ่มาก จนไม่คิดว่าการใช้ทองคำหนุนค่าเงินจะเป็นเปอร์เซนต์มากขนาดที่ถามมา

..เราไม่มีทางที่จะรู้ได้เลยจนกว่าจะเกิดการรีเซ็ทขึ้น ..ซึ่งที่จริงตอนนี้เราก็กำลังอยู่ในกระบวนการรีเซ็ทอยู่แล้ว จากการที่มันเกิดเงินเฟ้อที่ทำให้มีการรีเซ็ทค่าเงินตลอดเวลานาทีต่อนาที

แต่สปีดของการรีเซ็ทนี่แหละที่ทำให้เราไม่รู้สึกอะไร ค่าเงินดอลล่าร์ลดไปแล้ว 97% ตั้งแต่ตอนก่อตั้ง Fed เมื่อหนึ่งร้อยปีก่อน ...ทุกวันนี้อยู่ได้ด้วยความเชื่อถือในดอลล่าร์เท่านั้น

ถ้ามันจะเกิด hyperinflation ชั่วข้ามคืน..ก็ไม่ใช่เพราะค่าเงินจะตกมากไปกว่านี้ แต่ความเชื่อถือมันหายไปชั่วข้ามคืนมากกว่า ...hyperinflation เป็นเพียงภาพของการรีเซ็ทเท่านั้น

ถ้าความเชื่อถือในสกุลเงินหมดไป สกุลใหม่จำเป็นต้องมีส่วนของทองคำมาหนุนเพื่อให้คนยอมรับ

6:45...ถาม...ในกรณีเกิดดอลล่าร์ hyperinflation เราจะรู้ได้ยังไงว่าทองหรือซิลเวอร์จะมีราคาต่อออนซ์เท่าไหร่ในการแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ

Lynette....เราจะรู้ก็ต่อเมื่อเจ้าของสินค้าหรือบริการจะยินดีรับมันไว้ที่เท่าไหร่ หรือถ้าคุณจำเป็นต้องซื้ออาหาร คุณจะเสนอให้ทองคำหรือซิลเวอร์ของคุณที่มูลค่าเท่าไหร่ ..มันก็เป็นเรื่องของ demand กับ supply นี่เอง

แต่มันจะยิ่งประเมินกันยากขึ้นสักหน่อยถ้าการสื่อสารมันต้องชะงักลง เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่ระบบพลังงานไฟฟ้า (grid) จะยังคงมีให้ใช้อยู่หรือเปล่า

9:25...ถาม...ที่รายการนี้ชักชวนผู้ติดตามให้ซื้อทองคำมาตลอด ..นั่นเป็นเพราะทางรายการต้องการขายทองคำใช่หรือไม่

Lynette....เหตุผลที่เราแนะนำก็เป็นเหตุผลเดียวกับที่เราเองก็ซื้อทองคำด้วยเช่นกัน เพราะคุณจำเป็นต้องมีทรัพย์สินที่มีค่าเป็นสากล ที่สามารถใช้แลกเปลี่ยนเป็นสินค้าหรือทรัพย์อื่นๆได้ทุกแห่งในโลก เพราะในระบบปัจจุบัน..สกุลเงินที่เราแลกเปลี่ยนมาด้วยแรงงานของเรา ยิ่งถือไว้นานยิ่งมีค่าลดลง ...ที่มันยังคงมีค่าอยู่ก็เพราะทุกคนให้ความเชื่อถือกับมันอยู่นั่นเอง สักวันหนึ่งถ้าความเชื่อถือหมดไป มันก็เป็นแค่กระดาษเท่านั้น

พวกเราทุกคนถูกหลอกมาตลอดตั้งแต่เกิด ไม่เคยมีการสอนให้รู้เลยถึงความสำคัญและมูลค่าแท้จริงของแรงงานหรือปัญญาของเรา ..สิ่งมีค่าที่คุณๆสร้างสรรค์ขึ้นมาจะถูกแลกเปลี่ยนในฟอร์มของ money ชนิดหนึ่ง..ซึ่ง by design ..มูลค่าจะหดหายไปเรื่อยๆ....

Cr.Sayan Rujiramora

เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
Web : https://www.fxhanuman.com
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

#forex #ลงทุน #pepperstone #xm #fbs #exness #uag #icmarkets #avatrade #fxtm #tickmill #fxpro #fxopen #fxcl #forex3d #forex4you

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"