forex_calendar

1.  ตั้งเวลาให้ตรงกับประเทศไทยคือ (GMT+7:00) Bangkok, Hanoi, Jakarta
2.  ไว้สำหรับเลือกวันที่ต้องการดูข่าว
3.  เวลาข่าวออก
4.  ตระกูลเงินของข่าว
5.  ความรุนแรงของข่าว
6.  เหตุการณ์ของข่าว
7.  ค่าตัวเลขจริงที่ออก
8.  ค่าตัวเลขคาดการณ์
9.  ค่าตัวเลขครั้งก่อน

forex_calendar

เมื่อถึงเวลาข่าวออกตัวเลขค่าจริงจะแสดงออกมาในช่อง Actual ซึ่งจะมีสีแตกต่างกันดังนี้

  • ตัวเลขออกเป็นสีเขียวแสดงตัวเลขดีกว่าที่คาดการณ์ไว้
  • ตัวเลขออกเป็นสีแดงแสดงว่าตัวเลขแย่กว่าที่คาดการณ์ไว้
  • ตัวเลขออกเป็นสีดำแสดงว่าตัวเลขเท่ากับค่าที่คาดการณ์หรือใกล้เคียงกับสถิติเดิม (Previous)

 

สิ่งที่ต้องสนใจในการเทรดข่าว Forex

 

1.  เรื่องค่าสกุลเงิน ถ้าเทรดสกุลไหนก็ต้องสนใจเฉพาะสกุลนั้น เช่นถ้าเราเช่น EUR/USD ก็สนใจเฉพาะข่าวของ USD และ EUR และเราต้องรู้ด้วยว่าถ้าข่าวออกมาจะทำให้ค่าเงินเราขึ้นหรือลง เช่น ถ้าเราเล่น EUR/USD ถ้าข่าวดอลลาร์สหรัฐออกมาดีแสดงคู่เงินที่มี USD อยู่หลังกราฟจะลง แต่ถ้าข่าว USD ออกมาไม่ดีกราฟจะขึ้น ในทางกลับกันถ้าข่าว EUR ออกมาดีกราฟจะขึ้นแต่ถ้าข่าว EUR ออกมาไม่ดีกราฟจะลง

2. เรื่องระดับความแรงของข่าว ระดับความแรงขอข่าวจะมีสามระดับดังรูป

forex_calendar

3. ค่าตัวเลขจริงที่ออก(Actual) ถ้าค่าตัวเล่นจริงที่ออกมาต่างจากค่าก่อนหน้า(Previous)มาก ยิ่งมีผลทำให้ค่าเงินวิ่งขึ้นลงแรงมาก แต่ก็ขึ้นอยู่กับความแรงของข่าวด้วย

12 ขั้นตอนของการเป็นนักล่าอาณานิคมแบบร่วมสมัย

1- สร้างหลุมพรางให้ประเทศอาณานิคม ประเทศในซีกโลกใต้ส่วนใหญ่ถูกดักจับให้เข้าที่จากการเคยเป็นอาณานิคม ประเทศพวกนี้ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ผลิตที่เน้นสินค้าโภคภัณท์เดี่ยวๆ เช่นน้ำตาลของคิวบา น้ำมันของเวเนซูล่า

..นี่ทำให้ไม่สามารถกระจายเศรษฐกิจของประเทศ หมายความว่ารายได้ส่วนใหญ่ของประเทศมาจากสินค้าตัวเดียว (รายได้ 98% ของเวเนฯมาจากการส่งออกน้ำมัน) ถ้าราคาโภคภัณท์เหล่านี้ยังคงสูงอยู่ก็ดีไป แต่ถ้าราคาตก ประเทศก็ลำบาก นี่คือมรดกบาปของเหล่าอาณานิคม ...ราคาน้ำมันตกจาก $160.72 (มิย.2008) เป็น $51.99 (มค.2019) เวเนฯ เจ๊งภายในรอบสิบปีนี้นี่เอง

Step Two: The Defeat of the New International Economic Order.
2- ความพ่ายแพ้ของแนวทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม่

ในปี 1974 กลุ่มประเทศซีกโลกใต้พยายามวางผังใหม่ของเศรษฐกิจของตน พวกเขาเรียกว่า New International Economic Order (NIEO) ที่จะทำให้พวกเขาหลีกหนีจากการต้องพึ่งสินค้าส่งออกเดี่ยว และการกระจายรายได้ประเทศ ...การรวมกลุ่มเป็น cartel เช่นน้ำมัน (OPEC) หรือบ้อกไซท์ ก็เพื่อช่วยให้พวกที่มีสินค้าเดี่ยวสามารถคุมราคาของตนได้ ..OPEC เริ่มก่อนในปี 1960 เป็นตัวนำร่องของสินค้าโภคภัณท์เดี่ยว สินค้ากลุ่มอื่นไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งได้ ..แต่ OPEC กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือในเรื่อง เปโตรดอลล่าร์ของเจ้าอาณานิคมอยู่ดี ...สมาชิกแบบเวเนฯที่ถึงแม้จะมีน้ำมันดิบมากที่สุดในโลกก็ยังไม่สามารถคุมราคาได้เลย

Step Three: The Death of Southern Agriculture.
3- อวสานต์ของการเกษตรทางซีกโลกใต้

ในเดือนพย. 2001 มีเกษตรกรรายย่อยประมาณ 3,000 ล้านคนทั่วโลก เดือนนั้นเองมีการประชุมของ World Trade Organisation ที่ Doha..Qatar เพื่อเริ่มการผลิตของอุตสาหกรรมการเกษตรของกลุ่มประเทศทางเหนือ เป็นการทำลายกลุ่มเกษตรกรรายย่อย และพวกที่ต้องเช่าที่ดินทำการเกษตร (peasant ซึ่งแตกต่างจาก farmer เพราะไม่มีที่ดิน...ผู้แปล) ....การใช้เครื่องจักรการเกษตรในสเกลระดับใหญ่เป็นอุตสาหกรรมในอเมริกาเหนือและยุโรป ทำให้ผลผลิตของแต่ละรายได้ถึง 1-2 ล้านกิโลกรัม ในขณะที่ชาวนายากจนทางซีกโลกใต้ได้เพียงรายละ 1 พันกิโลกรัม ..เรียกได้ว่าการประชุมที่ Doha เป็นการทำลายล้างเกษตรกรรายย่อยทั่วโลกจริงๆ

Step Four: Culture of Plunder.
4- วัฒนธรรมแห่งการปล้นสดมภ์

นักล่าอาณานิคมตะวันตก ส่งเสริมให้มีบริษัทผูกขาดการค้าทำการโดยไม่ต้องคำนึงถึงกฏหมาย เช่นในสาธารณรัฐคองโก ถูกโกงภาษีโดยบริษัททำเหมืองผูกขาด ส่วนใหญ่จากแคนาดา โดยการตั้งราคาต่ำเกินจริง และเลี่ยงภาษี ที่ทำให้บริษัทของแคนาดาเช่น Agrium, Barrick and Suncor สามารถปล้นรัฐยากจนนี้ได้วันละนับพันล้านดอลล่าร์

Step Five: Debt as a Way of Life.
5- หนี้เป็นไลฟ์สไตล์ของประเทศยากจนเหล่านี้

เมื่อไม่สามารถสร้างรายได้ได้เพียงพอจากสินค้าส่งออกของตน หรือถูกชิงเอาระบบการเกษตร หรือถูกปล้นสดมภ์ กลุ่มประเทศทางโลกใต้จึงเหมือนถูกบีบให้ต้องขอเข้าเป็นลูกหนี้ของฝ่ายโลกการเงิน ...ในช่วงสิบปีมานี้ หนี้ของกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาอีก 60% ...รอบสิบปีก่อนหน้าช่วง 2000-2010 ราคาสินค้าโภคภัณท์สูงขึ้นจนสามารถลดหนี้ของกลุ่มนี้ได้บ้าง .....IMF ชี้ว่าในจำนวน 67 ประเทศยากจนที่เฝ้าจับตาอยู่ มี 30 ประเทศอยู่ในขั้นเลวร้ายสุดๆ เพิ่มมาเท่าตัวนับจากปี 2013 .....แองโกล่าซึ่งเป็นผู้ส่งออกน้ำมัน ใช้เงินได้นี้ไปถึง 55.4% เป็นค่าดอกเบี้ย ผู้ส่งออกน้ำมันรายเล็กอื่นๆ กานา..แชด..กาบอง และเวเนฯ ก็มีอัตราส่วน หนี้/GDP สูงลิ่วกันทั้งนั้น

Step Six: Public Finances Go to Hell.
6- การคลังสาธารณะ (Public Finances) ตายแล้ว

เมื่อรายได้เข้าประเทศและภาษีก็ได้น้อยลง ..Public Finances ก็วิกฤติ ..หลายประเทศไม่สามารถหาเงินมาใช้เพียงพอกับกิจการพื้นฐานของรัฐได้ ..ยิ่งดุลงบประมาณไม่สวยก็ยิ่งกู้เงินได้ยากขึ้น เจอกับดอกเบี้ยสูงก็ยิ่งทำให้เสี่ยงหนักเข้าไปอีก

Step Seven: Deep Cuts in Social Spending.
7- รัดเข็มขัดกันสุดๆ

เมื่อหาเงินได้ยากขึ้น และยังติดกับดักระบบการเงินของโลก รัฐบาลก็ต้องตัดรายจ่ายกันสุดๆ ทั้งการศึกษา..การแพทย์ ...IMF ก็จะเข้ามาช่วยบีบอีกแรง เอกราชของประเทศก็ไม่เหลือ และยังจะมีแรงบีบอีกมากจากอีกหลายองค์กรโลก

Step Eight: Social Distress Leads to Migration.
8- เมื่อสังคมล้มเหลว ก็อพยพ

จำนวนของผู้อพยพทั่วโลกเวลานี้ สิริรวมแล้วอย่างน้อย 68.5 ล้านคน ..ถ้าตั้งชื่อประเทศว่า Migration ให้ผู้อพยพเหล่านี้ ..ประเทศ Migration จะอยู่ในอันดับที่ 21 ของโลก รองลงมาจาก Thailand เลยแหละ มากกว่าอังกฤษด้วย ...ผู้อพยพเป็นปฏิกิริยาของประเทศที่ล่มสลายทั่วโลก เป็น global exodus

Step Nine: Who Controls the Narrative?
9- ให้รู้ซะบ้างว่าแถวนี้ใครคุม

สื่อกระแสหลักส่วนใหญ่ในโลกนี้ล้วนแต่รับออร์เดอร์จากอิลิททั้งนั้น ..ผู้นำของประเทศต่างๆที่อยู่ใต้แรงบีบของตะวันตก ส่วนมากก็ทำตามคำแนะนำที่ส่งผ่านมาทางสื่อ ..ไม่ต้องรอความเห็นใจเลย ไม่มีให้หรอก ......ตราบใดที่ทำตามคำแนะนำที่ให้ปฏิรูป ก็โอเค (แบบที่ไทยทำตาม IMF) แต่ถ้าไม่ทำตามก็จะถูกจัดชั้นให้เป็น 'เผด็จการ' ที่เอาประชาชนเป็นตัวประกัน ..พวกประชาธิปไตยต้องยกพวกเข้าไปช่วยเปลี่ยนรัฐบาล regime change ..ตัวอย่างที่เห็นตอนนี้คือ เวเนซูล่า

Step Ten: Who’s the Real President?
10- ใครคือประธานาธิบดีตัวจริง

การเข้าไปทำ regime change ต้องเริ่มจากทำให้สาธารณชนทั่วไปเห็นว่า รัฐบาลขณะนั้นไม่ถูกต้องตามกฏหมาย ..แล้วจัดให้มีใครอีกคนที่ยอมตัวเป็นเบ๊..มาเสนอว่านี่คือผู้นำตัวจริง แต่ผู้ที่หนุนรายใหญ่ต้องเป็นสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ..สร้างสถานการณ์ในประเทศให้เลวร้ายลงจนต้องมีการปฏิวัติ ต้องมีการเปลี่ยนรัฐบาล ..ฟอร์มรัฐบาลใหม่แบบ kitchen cabinet ปรุงอาหารเลี้ยงสหรัฐ นั่นคือแปลงทรัพย์สินของชาติทุกอย่าง (privatize) ขายในตลาดหุ้น อ้างว่าให้กับประชาชน (แบบเดียวกับ ปตท.) ....กรณีของเวเนซูล่า ทรัพย์ใต้ดินมหาศาลจะรอดหรือเปล่า..

Step Eleven: Make the Economy Scream.
11- บีบคั้นทางเศรษฐกิจให้มันร้องจ๊ากไปเลย

เวเนซูล่าพบกับการแซงค์ชั่นจากสหรัฐอย่างแรงมาตั้งแต่ 2014 ตอนที่คองเกรสเริ่มที่จะเล่นวิธีนี้ ...จากนั้นในปีถัดมา ปธน.โอบาม่า ก็เพิ่มแรงกดประกาศว่า เวเนซูล่าเป็นตัวคุกคามความมั่นคง ทีนี้เวเนฯก็ร้องจ๊ากไปเลย ..ไม่กี่วันมานี้ อังกฤษกับสหรัฐก็ประกาศยึดทองคำของเวเนฯที่ฝากไว้มูลค่าหลายพันล้านไปดื้อๆ ...การแซงค์ชั่นส่วนใหญ่อยู่ที่เรื่องของน้ำมันซึ่งเป็นแหล่งรายได้ของประเทศ นี่เป็นกรณีเดียวกันกับที่สหรัฐทำกับอิหร่านและคิวบา ..UN ประเมินว่าคิวบาเสียหายไปถึง $1.3 แสนล้าน ส่วนเวเนฯก็พังไปแล้ว $6 พันล้านแค่ปีแรกที่ถูกทรัมพ์แซงค์ชั่น ..ฝ่ายแถลงข่าวของ UN บอกว่า "การแซงค์ชั่นจะนำไปสู่ความอดหยากและปัญหาสุขภาพ นี่ไม่ใช่ทางแก้ปัญหาวิกฤติเวเนฯเลย แต่นี่เป็นการนำไปสู่การเปลี่ยนรัฐบาลอย่างเดียวเลย"

Step Twelve: Go to War.
12- สงคราม

หัวหน้า NSA จอห์น โบลตัน เตรียมเขียนกำหนดการมีคำว่า ทหาร 5,000 คนจากโคลอมเบีย ..ทหารเหล่านี้พร้อมอยู่แล้วที่ชายแดนเวเนฯ กองบัญชาการสหรัฐที่นั่นก็พร้อมแล้ว พวกเขาฟูมฟักให้โคลอมเบียและบราซิลร่วมช่วยแล้วด้วย บรรยากาศปฏิวัติพร้อม แค่สะกิดเบาๆครั้งเดียวก็เริ่มสงครามได้เลย..

ประชาชนต้องพร้อมใจ say no กับการแทรกแซงของต่างชาติในครั้งนี้ หรือไม่ก็เห็นดีด้วยไปเลย ......ไม่มีทางสายกลาง

****************

The 12-Step Method Of Regime Change
Tyler Durden. Feb 6, 2019

Step One: Colonialism’s Traps.

Most of the Global South remains trapped by the structures put in place by colonialism. Colonial boundaries encircled states that had the misfortune of being single commodity producers – either sugar for Cuba or oil for Venezuela. The inability to diversify their economies meant that these countries earned the bulk of their export revenues from their singular commodities (98% of Venezuela’s export revenues come from oil). As long as the prices of the commodities remained high, the export revenues were secure. When the prices fell, revenue suffered. This was a legacy of colonialism. Oil prices dropped from $160.72 per barrel (June 2008) to $51.99 per barrel (January 2019). Venezuela’s export revenues collapsed in this decade.

Step Two: The Defeat of the New International Economic Order.

In 1974, the countries of the Global South attempted to redo the architecture of the world economy. They called for the creation of a New International Economic Order (NIEO) that would allow them to pivot away from the colonial reliance upon one commodity and diversify their economies. Cartels of raw materials – such as oil and bauxite – were to be built so that the one-commodity country could have some control over prices of the products that they relied upon. The Organisation of Petroleum Exporting Countries (OPEC), founded in 1960, was a pioneer of these commodity cartels. Others were not permitted to be formed. With the defeat of OPEC over the past three decades, its members – such as Venezuela (which has the world’s largest proven oil reserves) – have not been able to control oil prices. They are at the mercy of the powerful countries of the world.

Step Three: The Death of Southern Agriculture.

In November 2001, there were about three billion small farmers and landless peasants in the world. That month, the World Trade Organisation met in Doha (Qatar) to unleash the productivity of Northern agri-business against the billions of small farmers and landless peasants of the Global South. Mechanisation and large, industrial-scale farms in North America and Europe had raised productivity to about 1 to 2 million kilogrammes of cereals per farmer. The small farmers and landless peasants in the rest of the world struggled to grow 1,000 kilogrammes of cereals per farmer. They were nowhere near as productive. The Doha decision, as Samir Amin wrote, presages the annihilation of the small farmer and landless peasant. What are these men and women to do? The production per hectare is higher in the West, but the corporate take-over of agriculture (as Tricontinental: Institute for Social Research Senior Fellow P. Sainath shows) leads to increased hunger as it pushes peasants off their land and leaves them to starve.

Step Four: Culture of Plunder.

Emboldened by Western domination, monopoly firms act with disregard for the law. As Kambale Musavuli and I write of the Democratic Republic of Congo, its annual budget of $6 billion is routinely robbed of at least $500 by monopoly mining firms, mostly from Canada – the country now leading the charge against Venezuela. Mispricing and tax avoidance schemes allow these large firms (Canada’s Agrium, Barrick and Suncor) to routinely steal billions of dollars from impoverished states.

Step Five: Debt as a Way of Life.

Unable to raise money from commodity sales, hemmed in by a broken world agricultural system and victim of a culture of plunder, countries of the Global South have been forced to go hat in hand to commercial lenders for finance. Over the past decade, debt held by the Global South states has increased, while debt payments have ballooned by 60%. When commodity prices rose between 2000 and 2010, debt in the Global South decreased. As commodity prices began to fall from 2010, debts have risen. The IMF points out that of the 67 impoverished countries that they follow, 30 are in debt distress, a number that has doubled since 2013. More than 55.4% of Angola’s export revenue is paid to service its debt. And Angola, like Venezuela, is an oil exporter. Other oil exporters such as Ghana, Chad, Gabon and Venezuela suffer high debt to GDP ratios. Two out of five low-income countries are in deep financial distress.

Step Six: Public Finances Go to Hell.

With little incoming revenue and low tax collection rates, public finances in the Global South has gone into crisis. As the UN Conference on Trade and Development points out, ‘public finances have continued to be suffocated’. States simply cannot put together the funds needed to maintain basic state functions. Balanced budget rules make borrowing difficult, which is compounded by the fact that banks charge high rates for money, citing the risks of lending to indebted countries.

Step Seven: Deep Cuts in Social Spending.

Impossible to raise funds, trapped by the fickleness of international finance, governments are forced to make deep cuts in social spending. Education and health, food sovereignty and economic diversification – all this goes by the wayside. International agencies such as the IMF force countries to conduct ‘reforms’, a word that means extermination of independence. Those countries that hold out face immense international pressure to submit under pain of extinction, as the Communist Manifesto (1848) put it.

Step Eight: Social Distress Leads to Migration.

The total number of migrants in the world is now at least 68.5 million. That makes the country called Migration the 21st largest country in the world after Thailand and ahead of the United Kingdom. Migration has become a global reaction to the collapse of countries from one end of the planet to the other. The migration out of Venezuela is not unique to that country but is now merely the normal reaction to the global crisis. Migrants from Honduras who go northward to the United States or migrants from West Africa who go towards Europe through Libya are part of this global exodus.

Step Nine: Who Controls the Narrative?

The monopoly corporate media takes its orders from the elite. There is no sympathy for the structural crisis faced by governments from Afghanistan to Venezuela. Those leaders who cave to Western pressure are given a free pass by the media. As long as they conduct ‘reforms’, they are safe. Those countries that argue against the ‘reforms’ are vulnerable to being attacked. Their leaders become ‘dictators’, their people hostages. A contested election in Bangladesh or in the Democratic Republic of Congo or in the United States is not cause for regime change. That special treatment is left for Venezuela.

Step Ten: Who’s the Real President?

Regime change operations begin when the imperialists question the legitimacy of the government in power: by putting the weight of the United States behind an unelected person, calling him the new president and creating a situation where the elected leader’s authority is undermined. The coup takes place when a powerful country decides – without an election – to anoint its own proxy. That person – in Venezuela’s case Juan Guaidó – rapidly has to make it clear that he will bend to the authority of the United States. His kitchen cabinet – made up of former government officials with intimate ties to the US (such as Harvard University’s Ricardo Hausmann and Carnegie’s Moisés Naím) – will make it clear that they want to privatise everything and sell out the Venezuelan people in the name of the Venezuelan people.

Step Eleven: Make the Economy Scream.

Venezuela has faced harsh US sanctions since 2014, when the US Congress started down this road. The next year, US President Barack Obama declared Venezuela a ‘threat to national security’. The economy started to scream. In recent days, the United States and the United Kingdom brazenly stole billions of dollars of Venezuelan money, placed the shackles of sanctions on its only revenue generating sector (oil) and watched the pain flood through the country. This is what the US did to Iran and this is what they did to Cuba. The UN says that the US sanctions on Cuba have cost the small island $130 billion. Venezuela lost $6 billion for the first year of Trump’s sanctions, since they began in August 2017. More is to be lost as the days unfold. No wonder that the United Nations Special Rapporteur Idriss Jazairy says that ‘sanctions which can lead to starvation and medical shortages are not the answer to the crisis in Venezuela’. He said that sanctions are ‘not a foundation for the peaceful settlement of disputes’. Further, Jazairy said, ‘I am especially concerned to hear reports that these sanctions are aimed at changing the government of Venezuela’. He called for ‘compassion’ for the people of Venezuela.

Step Twelve: Go to War.

US National Security Advisor John Bolton held a yellow pad with the words 5,000 troops in Colombia written on it. These are US troops, already deployed in Venezuela’s neighbour. The US Southern Command is ready. They are egging on Colombia and Brazil to do their bit. As the coup climate is created, a nudge will be necessary. They will go to war.

None of this is inevitable. It was not inevitable to Titina Silá, a commander of the Partido Africano para a Independència da Guiné e Cabo Verde (PAIGC) who was murdered on 30 January 1973. She fought to free her country. It is not inevitable to the people of Venezuela, who continue to fight to defend their revolution. It is not inevitable to our friends at CodePink: Women for Peace, whose Medea Benjamin walked into a meeting of the Organisation of American States and said – No!

It is time to say No to regime change intervention. There is no middle ground.

Cr.Sayan Rujiramora

สนับสนุนข่าวโดย ICMarkets
เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"