Levi Strauss ไม่เคยได้นุ่งกางเกงยีนส์ที่โด่งดังของเขาเลย

ถึงแม้ว่าชื่อของเขาจะติดหราอยู่ตรงกระเป๋าหลังของคนนับล้านคน ..Strauss เป็นนักธุรกิจ และในช่วงปี 1870s ยีนส์ยังเป็นชุดของผู้ใช้แรงงานอยู่ ไม่ใช่ของนักธุรกิจ กางเกงยีนส์นั้นสร้างชื่อเสียง และความร่ำรวยมาก...ให้กับเขา

ความลับของความสำเร็จของเขา คือการตามล่าหาโอกาส

ตอนอายุ 18 เขาออกจากบ้านเกิดที่เยอรมันมาสู่อเมริกา ร่ำเรียนธุรกิจการเป็นพ่อค้าในนครนิวยอร์ค

หลังจากนั้น เขาย้ายไปเคนตั้กกี้ เพือเป็นพ่อค้าเร่ ...ต่อมาก็ติดตามกระแสการขุดหาทองคำไปที่ซานฟรานซิสโก ในยุคตื่นทองของ California Gold Rush

แต่เขาไม่ได้ล่าหาทองคำเหมือนคนอื่นๆ เขาเพียงแค่หาโอกาสขายสินค้าของเขากับคนเหล่านั้น สินค้าที่จำเป็นต้องใช้ในงานของพวกเขา (ทุกอย่างตั้งแต่ที่นอนถึงอุปกรณ์การขุดทอง)

ปี 1872 มีลูกค้าของเขารายหนึ่งที่เป็นช่างตัดเสื้อผ้า มาพบเขาเพื่อสั่งให้ตัดกางเกงที่ออกแบบไว้ ที่มีการย้ำหมุด rivets บางแห่ง ...หนึ่งปีหลังจากนั้น กางเกงยีนส์ถือกำเนิดขึ้น

ความคิดที่จะทำในสิ่งที่คนอื่นๆไม่ทำ และฉวยเอาโอกาสที่นึกไม่ถึง เป็นหนึ่งในหนทางสู่ความสำเร็จในธุรกิจ ...และมันสำคัญมากถ้าคุณทำธุรกิจ ในตลาดในถิ่นบุกเบิก ในแบบเดียวกับของ Levi Strauss..

ก็เหมือนกับ Strauss.. Andrea เกิดและเติบโตในแถบ "หลังเขา" ของเยอรมัน เขาอยากออกจากถิ่นที่อยู่เพื่อเปิดโอกาสใหม่ๆของตนตั้งแต่ยังเด็ก

เขาเริ่มงานใหม่เป็นคนแจกไพ่ในบ่อนที่แฮมเบิร์ก แต่ก็ไม่มีอะไรชวนตื่นเต้น

ตอนนี้ Andrea อาศัยและทำงานอยู่ในเมียนม่าร์ ประเทศทีเคยชื่อพม่าในเอเซียอาค์เนย์ ประเทศที่ถูกประกบเป็นแซนด์วิชโดยอินเดียและไทย เป็นประเทศปิดมานับสิบปีแบบเกาหลีเหนือ เศรษฐกิจประเทศเสียหายจากการปกครองระบบสังคมนิยมในรูปของรัฐบาลทหาร

ประมาณสิบปีมาแล้วที่เมียนม่าร์เหลียวมองรอบตัวและเห็นว่า ทั้งจีนและอินเดียต่างก็เฟื่องฟูอยู่กับเศรษฐกิจที่ดีของตน ทำให้รู้สึกเหมือนตัวเองพลาดงานเลี้ยงสำคัญแล้ว ...จึงคิดว่าต้องยกเครื่องประเทศใหม่ และเปิดรับนักลงทุนต่างประเทศซะที

Andrea ได้งานที่นั่นในปี 2011 และตั้งแต่นั้นเขาก็เปลี่ยนงานอัพตัวเองในงานอาชีพไปเรื่อยๆ ในดินแดนที่ยังเหมือนไม่ได้บุกเบิกแห่งนี้

มันเหมือนเคนตั้กกี้ในยุค 1850s เลย .....ตลาดแห่งใหม่ของนักบุกเบิก

Coca-Cola ก็เพิ่งเริ่มมาไม่กี่ปีนี้เอง รวมไปถึงโรงแรมชั้นดีหรือค้อฟฟี่ช้อบหรูๆแบบในประเทศตะวันตกก็เพิ่งเริ่มมีไม่นาน

ปัจจุบัน โอกาสการลงทุนในธุรกิจก็อยู่ในช่วง take off ..Andrea เคยคิดว่าเขาสามารถเริ่มธุรกิจใหม่ได้ทุกปีเลย เพราะมันยังมีดีมานด์ที่รอให้เข้าไปสนองในตลาดใหม่ๆอีกมาก

เช่น ตลาด digital/fintech กำลังมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ...ประชาชนเกือบ 36 ล้านคนในเมียนม่าร์อยู่ในบ้านกับ smartphone และคนส่วนใหญ่ก็ไม่มีเงินมากพอที่จะเปิดบัญชีแบบปกติของตนที่ธนาคาร

ทางออกน่ะหรือ ..ไม่ต้องมีบัญชีที่แบ้งค์ ใช้ fintech

นั่นคือสิ่งที่บริษัทสัญชาตินอร์เวย์ Telenor ทำไปแล้ว พวกเขาเข้าร่วมกับนักปล่อยเงินกู้ท้องถิ่นชาวพม่า Yoma .....

เกิดเป็น joint venture ชื่อ Wave Money ที่ได้รับ license เมื่อเดือนสิงหาคม 2016 เป็น non-bank แห่งแรกที่ให้บริการการเงินทาง mobile ในประเทศ

ตอนนี้ Wave Money เป็นวิถีที่ผู้คนในเมียนม่าร์ใช้รับส่งเงินกันไปมา ..บริษัทเริ่มจากจำนวนลูกค้าที่เป็นศูนย์เมื่อปี 2016 เป็น 1.5 ล้านคนในปี 2018

นี่เป็นตัวอย่างรายเดียวของชาวตะวันตกที่ทำเงินจากการเข้าบุกเบิกในตลาดด้านการเงิน ของตลาดที่ยังรอการบุกเบิกแห่งนี้

ยังมีโอกาสในธุรกิจอื่นๆที่รอให้เขียนลงในลิสต์รายการอีกมาก ทั้งธุรกิจและบริการ

แต่มันก็ไม่ง่ายนักในการเริ่มการลงทุน คุณจำเป็นต้องมีหุ้นส่วนในท้องถิ่น

ตลาดหุ้นที่ยังคงมีแค่ 5 บริษัทที่จดทะเบียน ก็ยังไม่เปิดให้นักลงทุนต่างชาติตอนนี้ แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงในเดือนมีนาคมนี้

การลงทุนในเรียลเอสเตทก็เป็นเรื่องที่เป็นโอกาสอีกอย่างหนึ่ง ในหลายๆบริเวณที่ราคาเรียลเอสเตทมันถูกจนช้อค ดีมานด์การเช่าก็มาก ...อนาคตการเติบโตดูท่าจะฮ้อทมากๆ

มันก็เหมือนการที่ผมเริ่มลงทุนในธุรกิจการเกษตรในชิลีเมื่อปี 2014 ราคาที่ดินที่นั่นยุคนั้นถูกมาก ต่ำกว่า 90% จากราคาที่สหรัฐ

ห้าปีหลังจากที่อยู่ในธุรกิจนั้น บริษัทของผมกลายเป็นแหล่งจ่ายพลังงานในแถบนั้น มูลค่าของฟาร์มพุ่งขึ้นสูง ...นักลงทุนใหญ่รวมถึงพวก investment banks จำนวนมาก ต่างก็เข้ามาในลงทุนในที่ดินราคาถูกในแถบนี้

แต่เรียลเอสเตทไม่ใช่โอกาสเพียงอย่างเดียว บางทีแค่เปิดบัญชีธนาคารก็สร้างผลกำไรให้ได้แล้ว ....เพราะในบางพื้นที่ที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ดีมานด์ของเงินทุนมันสูงมาก ....ธนาคารในท้องถิ่นพร้อมที่จะจ่ายดอกเบี้ยในอัตราที่สูงสำหรับเงินฝาก..สูงเกินกว่าที่คุณๆจะคุ้นเคยในประเทศคุณเอง

ทั้งหมดก็คือแนวคิดที่เปิดกว้างออกสู่ต่างประเทศของคุณ อยู่ที่การตัดสินใจของคุณเอง....

*************

Sovereign Man
Our friend is starting “a business every year” in this frontier market… demand is booming
Simon Black. Feb 5, 2019

Levi Strauss never actually wore a pair of his famous blue jeans.

Although his iconic name has been plastered on the back pockets of millions of people, Strauss himself was a businessman. And in the 1870s, jeans were strictly for laborers.

Those jeans, of course, made him famous… and very, very wealthy.

Sure, Levi’s product was good. But the real secret to his success was his willingness to chase opportunity.

At 18, he left his native Germany for America. He learned the merchant trade in New York City.

Soon after, he moved to Kentucky to peddle wares to pioneer settlers.

Then Strauss followed the crowd to San Francisco for the California Gold Rush.

But he wasn’t looking for the yellow metal like everyone else. He just wanted to sell them the products they needed to work and survive (everything from bedding to mining tools).

Then one of Strauss’ customers, a tailor, approached him in 1872 about a pair of pants he had created with rivets at the stress points. One year later, blue jeans were born.

The willingness to go where the crowds don’t go, and to seize unusual opportunities, is one way to gain success in business.

And it’s particularly important if you’re doing business in frontier markets, like Levi Strauss…

Like Strauss, my friend Andreas grew up in what he calls the “backwoods” of Germany.

From a young age, Andreas wanted to get out and expand his opportunities.

He started by working as a banker in Hamburg. But that didn’t scratch the itch.

Now Andreas lives and works in the Southeast Asian nation, Myanmar — formerly known as Burma.

Sandwiched between India and Thailand, Myanmar spent decades nearly as cut off from the world as North Korea… its economy was suffering under decades of socialist, military rule.

Then, about ten years ago, Myanmar looked around and realized that while its neighbors China and India were on an economic upturn, it was missing out on the party.

So it decided to overhaul its government and open up to foreign investors.

Andreas took a job there in 2011. And since then, he has had a much bigger and more varied career in the Wild, Wild East than he ever could have had as a banker in Germany.

Why? Because Myanmar — just like Kentucky and San Francisco in the 1850s — is a true frontier market.

Coca-Cola didn’t exist there until a few years ago. Neither did a decent, Western-style hotel. Or Western-style coffee shops.

But today, the business and investment opportunities are taking off. Andreas jokes that he starts a new business in Myanmar every year, simply because there’s so much demand to meet as the market expands and opportunities arise.

For example, there’s a rapidly expanding digital/fintech market.

Nearly 36 million people in Myanmar live in houses with smartphones. At the same time, most of them don’t make enough money to open a traditional bank account.

The solution? Skip the banks and dive straight into fintech.

That’s exactly what a Norwegian telecom operation called Telenor did. They came in and teamed up with Yoma, a Burmese private lender.

Their joint venture, Wave Money, got its license in August 2016 and became the first non-bank to provide mobile financial services in the country.

Now, Wave Money is THE way that people in Myanmar send money back and forth. The company went from zero customers in 2016 to some 1.5 million in 2018.

And this is just one example of foreigners making money by solving problems in a frontier market.

There are too many opportunities in Myanmar to list in this one piece. (We recently wrote about them more extensively in Sovereign Man: Confidential.) In short, the country needs basically everything from a business and services perspective.

And it’s still difficult for foreigners to invest in the country. If you want to open a business there, you need a local partner (Andreas agreed to speak with our premium subscribers that were interested).

The country’s tiny stock market (with only five listed companies) is still closed to foreigners – though that may change in March.

Don’t get me wrong– I’m not suggesting anyone get up and move to Myanmar… or that the country is without any problems. Myanmar has a laundry list of them, just like every other country in the world.

You also don’t have to start multiple businesses to take advantage of key growth opportunities abroad; there are plenty of other ways.

Buying real estate is a great example; there are certain markets where property prices are shockingly cheap, rental demand is strong, and future growth prospects are white hot.

That’s how I ended up starting an agriculture business in Chile back in 2014: land prices (at least, back then) were literally 90% cheaper than what it costs in the US.

Five years in, the company has become a regional powerhouse. And the value of the farmland has soared, with everyone from major endowment funds to investment banks trying to buy up huuuuge tracts of land.

Even outside of real estate, sometimes it’s possible to benefit from a foreign country’s growth dynamics merely by opening a bank account.

Some places are growing so rapidly that the demand for capital is incredibly high.

This means that local banks will often pay MUCH higher interest rates on deposits than you’re accustomed to.

(And you might also find that a foreign bank is far better capitalized than the Bank of Smoke and Mirrors where your money is currently held back home.)

The key lesson here is that there are a lot of different approaches. But it all starts with expanding your thinking internationally. Doing so can bring you big rewards, both personally and financially.

Cr.Sayan Rujiramora

สนับสนุนข่าวโดย ICMarkets
เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"