การพังทลายของตลาดNASDAQ และค่าเงินเหรียญสหรัฐ เริ่มปี2000 ส่งผลให้ตลาดเงินตลาดทุนโลก รวมทั้งประเทศไทยดีขึ้นและแข็งค่าขึ้น การใช้หนี้ไอเอ็มเอฟหมดในปี 2546 ไม่ใช่ความสามารถอะไรทักษิณ
ตลาดหุ้น คือสิ่งผิดปกติโลกทุนนิยม
ดูตัวอย่าง ตลาดหุ้นเวเนซูเอลา
.
VENEZUELA stock index
ระยะเวลา 13 เดือน ดัชนีตลาดหุ้นขึ้นมา 26,789% (20-Mar-18)
.
เป็นที่มราบกัน ประเทศเวนเนซูเอลาเป็นหนึ่งในประเทศยากจนมาก การสูงขึ้นของตลาดหุ้นเวนเนซูเอลาไม่ได้เป็นตัวบอกว่าเศรษฐกิจของประเทศเวนเนซูเอลาดี กองทุนโลกสามารถใช้ตลาดหุ้นทำร้ายท้องถิ่นและคนท้องถิ่นได้
.
ความเจริญทางเทคโนโลยีการสื่อสารจะทำให้ตลาดเงินตลาดทุนผิดปกติมากขึ้น
.
ให้ระวัง การอ้างว่าตลาดหุ้นดีเป็นเพราะเศรษฐกิจดี เป็นเรื่องที่ไม่จริง เป็นคนละเรื่องเดียวกัน
.
ส่วนใหญ่ที่เป็นแบบนี้เพราะผู้นำและผู้บริหารประเทศมีสมองน้อย บางประเทศถึงขั้นปัญญาอ่อน
ยกตัวอย่างเช่นประเทศสหรัฐอเมริกา (รวมทั้งประเทศไทย)
.
ตลาดหุ้นประเทศสหรัฐอเมริกาทำร้ายประเทศสหรัฐอเมริกาหนักๆมา2 ครั้งแล้ว
.
ครั้งแรกในปี 1929 หรือเมื่อ 89 ปีมาแล้ว รู้จักกันในชื่อGreat depression
.
ครั้งที่2 เมื่อปี2000หรือเมื่อ18ปีที่ผ่าน ตลาดNASDAQตกลง78% ส่งผลให้ระหว่างปี2000-2008 ที่นำมาซึ่ง Global Hamburger crisis ที่เริ่มขึ้นเมื่อปี2008 ความเสียหายครั้งที่2นี้รุนแรงกว่าครั้งแรกแบบเทียบกันไม่ได้ ทำให้US$ไม่ได้รับความเชื่อมั่น กองทุนพากันทิ้งUS$ US$ตกลง48%เมื่อเทียบกับเงินEUR สกุลเงินEURเป็นสกุลเงินที่ใหญ่เป็นลำดับที่2รองจากUS$
.
US$เสียหายหนัก ไหลออกมาท่วมโลก รวมทั้งท่วมไทย ทำให้ตลาดเงิน-ตลาดทุนโลก รวมทั้งของไทยราคาสูงขึ้น
.
นั่นคือการที่ตลาดเงินตลาดหุ้นประเทศไทยเริ่มพุ่งสูงขึ้นในปี2001 จึงไม่ได้เกิดจากการบริหารประเทศของรัฐบาลและราชการที่เกี่ยวข้องในช่วงนั้นแต่อย่างใด
.
ทั้งๆที่ก่อนหน้านั้น ประเทศไทยได้รับความเสียหาย จากการนำระบบ Maintenance margin & force sell มาใช้ในตลาดหุ้นในเดือนตุลาคม1993(2536)
.
การพังทลายของตลาดเงินและตลาดทุนไทย ทำให้เอกชนล้มลง ล้มละลาย คนตกงานเพียบ นึกถึงการล้มละลายและคนตกงานมากแล้วน้ำตาตกใน ต้องเข้ารับความช่วยเหลือทางการเงินจากอเอ็มเอฟครั้งที่2 ต้องลอยค่าเงินบาท เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม1997(2540)
.
ประเทศไทย ไม่มีสมองเป็นของตัวเอง ชอบเลียนแบบตะวันตก ตะวันตกมีอะไร ประเทศไทยก็จะต้องมีอย่างนั้น ประเทศไทยเริ่มมีตลาดหุ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่30เมษายน1975 นับถึงทุกวันนี้เป็นเวลา43ปีแล้ว ตลาดหุ้นทำความย่อยยับให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศอย่างหนักมา2ครั้งแล้ว
.
ครั้งแรก เมื่อปลายปี1978 ตกไปต่ำสุดปี1981-1982 สภาพคล่องเสียหาย เอกชนล้มลง ล้มละลาย คนตกงาน ต้องลดค่าเงินบาทหลายครั้ง เข้ารับความช่วยเหลือทางการเงินจากไอเอ็มเอฟครั้งแรก เกิดโครงการ 4เมษา เพื่อควบกิจการ25ไฟแนนซ์และเครดิตฟองซิเอร์ที่ประสบภาวะสภาพคล่อง ตั้งกองทุนกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน โดยมีความเชื่อว่า “อนาคต หากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯสามารถอัดฉีดสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินที่มีปัญหา ก็จะทำให้สถาบันการเงินนั้นยืนอยู่ได้ ไม่ล้มลง”
.
อนิจจา ประเทศไทยเกิดวิกฤตเศรษฐกิจครั้งที่2 (จากการนำระบบ Maintenance margin & force sell มาใช้ในตลาดหุ้นในเดือนตุลาคม1993)
.
กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯได้ปฏิบัติการตามความเชื่อที่มีมาแต่แรก แต่ถมเท่าใดก็ไม่เต็ม ไม่สามารถรักษาสภาพคล่องของระบบไว้ได้ เงินกองทุนฯมีไม่พอ ก็ไปกู้มาอัดฉีด สุดท้ายระบบเศรษฐกิจก็ล้มลง เกิดเป็นความเสียหายของระบบเศรษฐกิจของประเทศแบบไม่เคยเป็นมาก่อน เสียหายมากกว่าการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจครั้งแรกแบบเทียบกันไม่ได้
เมื่อ เงินที่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯที่อัดฉีดให้สถาบันการเงินที่มีปัญหา ดูแล้วไม่สามารถที่จะเรียกเงินที่อัดฉีดคืนได้ จึงจำเป็นต้องยึดกิจการสถาบันการเงินต่างๆทั้งระบบ
หนี้เสียจากการพังทลายตลาดหุ้นปี1978 (2521)
1 เกิดโครงการ4เมษาฯ เพื่อควบกิจการ25ไฟแนนซ์และเครดิตฟองซิเอร์
2 ตั้งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน FIDF
.
วิกฤตระบบเศรษฐกิจครั้งแรกประเทศไทย 1978 – 1985 SET index ตก 62% ต้องเข้ารับความช่วยเหลือทางการเงินไอเอ็มเอฟครั้งแรก ลดค่าเงินบาทหลายครั้ง ลดค่าเงินบาทครั้งสุดท้ายปี1984(2527)
BAHT Dollar ตกลง27%
เกิดโครงการ4เมษาฯ
เกิดกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
วิกฤตระบบเศรษฐกิจครั้งแรกประเทศไทย 1978 – 1985 SET index ตก 62% ต้องเข้ารับความช่วยเหลือทางการเงินไอเอ็มเอฟครั้งแรก ลดค่าเงินบาทหลายครั้ง ลดค่าเงินบาทครั้งสุดท้ายปี1984(2527)
BAHT Dollar ตกลง27%
เกิดโครงการ4เมษาฯ
เกิดกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
หนี้เสียจากการพังทลายตลาดหุ้นปี 1994 (2537)
เกิดโครงการ14สิงหาฯ เพื่อเข้ายึดกิจการ 56 สถาบันการเงิน
เกิดหนี้เสียที่บันทึกได้ 1.399 ล้านล้านบาท ความเสียหายจริง มากกว่า 1.4 ล้านล้านบาท
ยอดซื้อขายหุ้นสุทธิต่างชาติในตลาดหุ้นไทย
การซื้อขายของต่างชาติ เป็นตัวทำให้SET indexขึ้นและตกในช่วงการนำระบบMaintenance margin & force sell มาใช้ในตลาดหุ้น
เมื่อก่อนนี้ซื้อขายหุ้นทั้งเดือนประมาณ 3-4 หมื่นล้านบาท
ปัจจุบัน ซื้อขายหุ้นวันเดียวมากกว่า 4-7 หมื่นล้านบาท
ปี 1996 – 1997 (2539 – 2540) ตลาดหุ้นเริ่มพังทลายในปี2537(หลังมีการนำระบบ Maintenance margin & force sell มาใช้ในวันที่ 1 ตุลาคม 1993(2536)
.
ตลาดหุ้นใชเวลา3เดือน พุ่งสูงขึ้นจากระดับ 1,000 จุด ไป 1750 จุด หรือเพิ่มขึ้น 750 จุดในช่วงเวลา 3 เดือน จากนั้นก็พังทลายลง
ปี 1996 – 1997 (2539 – 2540) ตลาดหุ้นเริ่มพังทลายในปี2537(หลังมีการนำระบบ Maintenance margin & force sell มาใช้ในวันที่ 1 ตุลาคม 1993(2536)
.
ตลาดหุ้นใชเวลา3เดือน พุ่งสูงขึ้นจากระดับ 1,000 จุด ไป 1750 จุด หรือเพิ่มขึ้น 750 จุดในช่วงเวลา 3 เดือน จากนั้นก็พังทลายลง
.
ทำให้ค่าเงินบามเสียหาย ไม่ได้รับความเชื่อมั่น ทำให้ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศลดลง จากระดับประมาณ 40,000 ล้านบาท เหลือประมาณ 800 ล้านบาท
.
ต้องเข้ารับความช่วยเหลือทางการเงินจากไอเอ็มเอฟครั้งที่2 เมื่อวันที่1กรกฎาคม1997(2540)
.
และลอยค่าเงินบาท
.
ปี 2000 (2543) ตลาดNASDAQพังทลาย ทำให้US$เสียหาย ไม่ได้รับความเชื่อมั่น เงินไหลออกจากอเมริกา มาท่วมโลก รวมทั้งประเทศไทย ทำให้ตลาดเงินตลาดทุนไทยดีขึ้น ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศเพิ่มสูงขึ้น แม้มีรัฐประหาร
.
วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม 2003 (2546) ประเทศไทยใช้หนี้ IMF งวดสุดท้าย
.
ปี2006(2549) เงินทุนก็ยังไหลเข้าท่วมประเทศมากขึ้น จนกระทั่งต้องออกมาตรการกันสำรอง30เปอร์เซ็นต์ เงินทุนไหลเข้า ออกมาตรการวันเดียว ตลาดหุ้นตกประมาณ100จุด ต้องยกเลิกมาตรการดังกล่าวในวันรุ่งขึ้น
ฯลฯ
วิกฤตเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจครั้งที่2 หลังปี1994 (2537) ธนาคารเอกชนไทยต้องตกเป็นของต่างชาติ(สิงค์โปร) และเหลือส่วนที่เป็นเป็นของสัญชาติไทยน้อยมาก
.
จำได้ว่าในอดีต กำหนดให้ต่างชาติเป็นเจ้าของสถาบันการเงินของไทยไม่เกิน25เปอร์เซ็นต์
.
แต่ดูจากข้อมูลที่รวบรวมไว้ ที่บันทึกไว้ในปี2011(2554) %NVDR + %ต่างชาติ เกิน 25%
.
ธ.ไทยพาณิชย์ มีการขายอสังหาริมทรัพย์ทุ่งพญาไทย ได้เงินไปไถ่ถอนใบหุ้นคืนจากต่างชาติ ทำให้เห็นว่าธ.ไทยพานิชย์ ยังเป็นของสัญชาติไทย
.
ธ.กรุงไทย เป็นอีกหนึ่งธนาคารที่ยังเหลือเป็นของไทย คือเป็นของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 55.15% โดยทางการออกเป็นพันธ(เพิ่มหนี้ให้คนไทย)เข้าช่วยไว้
ค่าเงินบาท 1981 – 2012
ข้อสังเกต หลังการพังทลาย NASDAQ และ US$ ในปี2000
การพังทลายของ NASDAQ และ US$ ในปี2000 ทำให้เงินทุนไหลออกจากอเมริกา ไหลออกมาท่วมโลก รวมทั้งไหลเข้ามาท่วมประเทศไทย
.
ก่อนหน้านั้น ประเทศไทยต้องเข้ารับความช่วยเหลือทางการเงิน และลอยค่าเงินบาท วันที่ 2 กรกฎาคม 1997 (2540)
วันที่ 31 กรกฎาคม 2003(2546) เป็นเวลา 6 ปี หลังเข้ารับความช่วยเหลือทางการเงิน และลอยค่าเงินบาท วันที่ 2 กรกฎาคม 1997(2540) ประเทศไทยก็ได้ประกาศ ชำระหนี้ไอเอ็มเอฟงวดสุดท้าย
.
เป็นการใช้หนี้คืนไอเอ็มเอฟในเวลาที่รวดเร็วมาก
.
สรุป ตลาดหุ้นหรือ paper trade คือสิ่งผิดปกติของโลกทุนนิยม
.
การใช้หนี้ไอเอ็มเอฟหมดในปี 2546 ไม่ใช่ความสามารถอะไรทักษิณ
https://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9560000144849
Cr.Suthipong Prachayapruit
เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b
Line ID:@fxhanuman