ในช่วงที่ผ่านมา เราได้เห็นถึงประเด็นราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ปรับเพิ่มขึ้นอย่างรุนแรง ไม่ว่าจะเป็นประเด็นเรื่องก๊าซธรรมชาติที่พุ่งขึ้นสูงสุดเป็นประวัติการณ์ (All Time High) และราคาน้ำมันดิบที่สูงสุดในรอบปี หรือแม้แต่ถ่านหินที่ขึ้นถึงประมาณ 240 ดอลลาร์ต่อตัน
นักวิเคราะห์เตือนทั่วโลกเตรียมความพร้อมรับมือกับปัญหาวิกฤติขาดแคลนพลังงาน หลังจากที่ราคาพลังงาน ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหินพุ่งทะยานทุบสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา
บทความนี้ ขอนำงานวิจัยล่าสุดของกองทุนการเงินระหว่างประเทศหรือไอเอ็มเอฟ โดยโฟกัสไปที่ประเด็นอัตราเงินเฟ้อในยุคนี้ ว่ามีพัฒนาการต่างไปจากเดิมมากน้อยแค่ใด
หากไม่นับศึกช้างชนช้างคู่หยุดโลกระหว่างจีนกับสหรัฐแล้วนั้น ในปี 2565
ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ค่าเงินบาทไทยปรับตัวอ่อนค่าที่ระดับ 34 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งนับว่าสูงสุดในรอบ 4 ปี โดยมีแนวโน้มการอ่อนค่าต่อเนื่องมาตั้งแต่ช่วงเดือนกันยายนที่ผ่านมา จากระดับ 32.2 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ มาอยู่ที่ระดับ 33.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้ปรับลดตัวเลขคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกในปีนี้ลงจากเดิมที่เมื่อเดือนก.ค.คาดว่าจะขยายตัว 6.0% เหลือเป็นขยายตัว 5.9% ขณะที่ยังคงตัวเลขคาดการณ์เศรษฐกิจโลกปีหน้าไว้ว่าจะขยายตัว 4.9%
"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"