“ในอดีต​ อเมริกาก็เคยหนุนผู้นำไม่ได้มาจากการเลือกตั้งในเวเนซุเอล่า​"

... เหตุการณ์ในปัจจุบัน ปี 2019 ที่ “อเมริกา” พยายามแทรกแซงการเมืองเวเนซุเอล่าเพื่อจะ “ปล้นประเทศ” คนอื่นกลางแดด โดยการสนับสนุนหุ่นเชิดนายกว่ายโด่นั้น ไม่ใช่ครั้งแรกแต่อย่างใด

... ในช่วงหลัง “สงครามโลกครั้งที่2” นั้น “อเมริกา” ก็ได้มีความสนิมสนมอย่างมากกับ “ผู้นำเผด็จการของเวเนซุเอล่า” ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง และผู้นำคนนั้นก็ได้มอบผลประโยชน์การลงทุนด้าน “น้ำมัน” ของ “เวเนซุเอล่า” ให้กับพวกอเมริกัน อย่างมาก​ นั้นก็เพียงพอแล้ว​ ส่วนผู้นำจะมาจากเลือกตั้งหรือไม่นั้น ไม่สำคัญกับอเมริกาแต่อย่างใด

... “ผู้นำเผด็จการของเวเนซุเอล่า” คนนั้นคือนาย Pérez Jimenez Regime ที่ปกครองระหว่าง ปี 1953-1958 โดยเขาขึ้นสู่อำนาจจากการ “โค่นล้มรัฐประหารประธานาธิบดีที่มาจากการเลือกตั้งอย่างนาย Rómulo Gallegos” และยึดอำนาจในเวเนซุเอลา ที่กำลังมั่งคั่งจาก “น้ำมัน”, ในช่วงนี้เองที่ความเจริญรุ่งเรืองมาจากการลงทุนของต่างประเทศโดยเฉพาะ​ “บริษัทน้ำมันอเมริกัน” ที่เติบโตขึ้นพร้อมกับการสนับสนุนโดย Jimenez Regime ที่เขาเน้นการปกครองที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อย่างแข็งขันและสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ เช่น มาจาก บริษัท เช่นโมบิลและเอ็กซอน และทำให้เกิดผลประโยชน์จาก “น้ำมัน” ไหลกลายเป็นความร่ำรวยส่วนตัวของ Perez Jimenez เองด้วย และจากการสนับสนุน บริษัทน้ำมันอเมริกันเหล่านี้เขาได้รับรางวัล of Merit จากรัฐบาลอเมริกาในปี 1954

... ก่อนหน้านั้น คล้ายๆกับหลายๆประเทศ​ เขาเป็นนายทหารที่มีอำนาจมากในกระทรวงกลาโหมในระหว่างปี 1948-1950 ทำให้เขาถูกสนับสนุนจากหลายฝ่ายในการรัฐประหารรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ( คล้ายกับที่นายพลลอลนอลนายทหารใหญ่รัฐประหารเจ้านายตัวเองคือพระเจ้านโรดม สีหนุในปี 1970 ที่เชื่อว่า “เมกา” ให้การสนับสนุนในการล้มเจ้าและตั้งหุ่นเชิดทหารขึ้นมาแทน )

… เขาเป็นหนึ่งในรัฐบาลที่เผด็จการมากที่สุดในละตินอเมริกาในตอนนั้น “หน่วยตำรวจลับของเขา” หรือ Seguridad Nacional ได้ปราบปรามฝ่ายตรงข้ามอย่างรุนแรง กับพวกนักวิจารณ์ที่พยายามโค่นล้มเขา ด้วยการวางระเบิด ตามล่าสังหารอย่างทารุณและคุมขังผู้ที่ต่อต้านการปกครองของเขา

... ในช่วงสมัยที่เขาปกครองประเทศเวเนซุเอล่านั้น หน่วยข่าวกรองของ “อเมริกา” ได้ทำงานร่วมมือกับหน่วย Seguridad Nacional ของรัฐบาลเวเนวุเอล่า ได้ปิดกั้นความนิยมในระบอบคอมมิวนิสต์และแม้แต่ “เสียงเรียกร้องประชาธิปไตย” ในสังคมเวเนซุเอลา ที่เกิดจาก หน่วยตำรวจลับ หรือ Seguridad Nacional มีการพบว่ามีผู้ถูกทรมานหลายพันคนใน “เวเนซุเอลา” รวมทั้งในค่ายกักกันที่เกาะ Guasina ในป่าของ Orinoco และหลังจากรัฐประหารเวเนซุเอลาที่โค่นล้มเขาในปี 1958 มีการพบว่านักโทษ 400 ถูกขังในห้องใต้ดินของสำนักงานใหญ่ของ “หน่วยงานตำรวจลับ” Seguridad Nacional

... หลังปี 1958 ที่เขาลี้ภัยไปที่ โดมินิกัน และต่อด้วย “อเมริกา” ในไมอามี่นั้น สุดท้ายเขาได้หนีไปสเปน ต่อมาในปี 1961 ซีไอเอ รายงานว่ารัฐบาลของเขาได้ก่อวิกฤติให้กับประเทศเวเนซุเอล่าอย่างหนัก โดยเฉพาะเป็นยุคแห่งการสร้างหนี้ให้กับประเทศ ที่ยาวมาถึงในช่วงทศวรรษที่ 1960s หรือ 1960 – 1969 ที่บอกให้รู้ว่าแม้เขาจะไม่ได้ปกครองประเทศแล้ว แต่ มรดกบาปที่เขาก่อไว้ก็ได้สร้างปัญหาให้กับประเทศมากมาย

… หรือ ตอนนี้ “เวเนซุเอล่า” กำลังจะเดินตามรอยความล่มจ่มแบบในอดีตที่เกิดจากการแทรกแซงจาก “อเมริกา” มาเฟียเลือกตั้งธิปไตยเจ้าเดิม

.
... Pérez Jimenez Regime (1953-1958)[edit]
After Dictator Marcos Perez Jimenez overthrew the elected president, Rómulo Gallegos, and seized power in the 1948 Venezuelan coup d'état, the Venezuelan economy experienced a boom[citation needed], born from Venezuela's great oil wealth. During this prosperity, foreign investment, particularly from American oil companies, grew along with the support from the Jimenez Regime. The staunchly anti-communist regime allowed and supported the exploitation of the country's natural resources by the American oil industry, as a portion of the profits made its way from companies like Mobil and Exxon[11] to the personal coffers of Perez Jimenez. For his support of these American companies, he received the Legion of Merit from the U.S. Government in 1954.[12]

At the same time, United States intelligence agencies collaborated with Seguridad Nacional to silence communists and social-democrat voices in Venezuela.[citation needed] The Seguridad Nacional, headed by Pedro Estrada, disappeared and tortured thousands of Venezuelans, both in its headquarters in Caracas and in a confinement camp on Guasina Island in the jungles of the Orinoco. After the 1958 Venezuelan coup d'état, when Perez Jimenez abandoned the government and the country on January 23, 1958, more than 400 prisoners were found in the basement of the headquarters of the Seguridad Nacional.[13]

... As a result of the debts contracted by the dictatorship,[8] the discontent of the national private sector, the adverse position of the Catholic Church,[9] the cruelty of the dictatorship,[10] massive demonstrations against repression by the government, and the predicted economic crisis, Marcos Pérez Jiménez was deposed in a coup by disgruntled sectors within the Armed Forces of Venezuela on January 23, 1958

... He went into exile in the Dominican Republic and the United States from where he was extradited from the city of Miami. Finally, he resided in Spain, under the protection of the Franco regime. A CIA report in 1961 stated that his government generated the economic crisis that Venezuela experienced in the 1960s.[1

คลิก

คลิก

Cr.Jeerachart Jongsomchai

สนับสนุนข่าวโดย ICMarkets
เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b  
Line ID:@fxhanuman
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"