"อเมริกา กับ สงครามหรือแผนการณ์ ปล้นทองคำวาติกัน"

... ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น "อเมริกา" เล่นหลายบทบาททั้งหน้าฉากและหลังฉาก หน้าฉากนั้นเขาเป็นพันธมิตรกับ "อังกฤษ" และ "ฝรั่งเศส" ในการต่อต้านนาซีของฮิตเล่อร์ ที่ตอนนั้นปล้นสดมภ์ทั่วยุโรปเพื่อเอา "ทองคำ" มาสร้างกองทัพเพื่อสร้างควายิ่งใหญ่ของเยอรมัน

แต่หลังฉากเขาสนับสนุนนาซีเพื่อปล้นและปั่นป่วนยุโรปจากภายในเพื่อจะทำลาย เพื่อสร้างและจัดระเบียบอำนาจโลกใหม่ โดยการนำของพวกเขาเอง

... และ "วาติกัน" เมืองหลวงหัวใจของอาณาจักรคาทอลิก ก็เป็นหนึ่งในเป้าหมายของ "ฮิตเล่อร์ และมุสโสลินี"

... ก่อนหน้านั้น "อเมริกา" มีความสัมพันธ์ไม่ค่อยราบรื่นนักกับศาสนจักรวาติกัน เพราะว่าอเมริกาพยายามจะสร้างภาพว่าประเทศของเขานั้นไม่ได้ผูกกับเรื่องศาสนาแต่ผูกกับเรื่องเสรีภาพและประชาธิปไตย และช่วงระหว่าง 1870-1933 ทั้งสองรัฐต่างก็ห่างเหินซึ่งกันและกัน และเพราะนาซีขึ้นมาเป็นใหญ่ทำให้ทั้งสองต้องหันมาร่วมมือกันอีกครั้ง เพราะว่า "วาติกัน" นั้นไม่ศักยภาพที่จะปกป้อง "ทองคำ" ของตัวเอง

... 22 ธันวาคม 1939 ประธานาธิบดีรูสเวลท์ของอเมริกาได้แต่งตั้งทูตลับเฉพาะกิจอย่างนาย "Myron Taylor" นักกฏหมายและนักธุรกิจรายใหญ่ด้านเหล็กอนาคตไกลของ "วอลล์สตรีท" และได้เดินทางไปวาติกันเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 1940 และพบปะกับสันตะปาปา PiusXII ,ที่เคยเป็นศาสนทูตของวาติกันประจำเยอรมัน ระหว่างปี 1917-1929 ก่อนที่จะได้มาเป็นสันตะปาปาใน วันที่ 2 มีนาคม ปี 1939 , ผู้เคยมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ "ฮิตเล่อร์" เพราะว่าหลังจากฮิตเล่อร์ขึ้นสู่อำนาจแค่ หกเดือนท่านโป๊ป PiusXII ที่ก่อนนั้นใช้ชื่อว่า Eugenio Maria Giuseppe Giovanni Pacelli ได้พยายามเจรจากับฮิตเล่อร์ไม่ให้ทำลายโบสถ์และทรัพย์สินของศาสนจักรวาติกันในเยอรมันนี

... แต่ระหว่างที่ประชุมกันระหว่างสันตะปาปา PiusXII กับนายเทย์เล่อร์ตัวแทนของประธานาธิบดีรูสเวลท์ของ “อเมริกา” นั้น โป๊ปบอกว่ากังวลกับ “มุสโสลินี” ที่มีท่าทีดื้อด้านไม่เปลี่ยนแปลงและเดาใจยาก และหลังจากการพบปะกันในวาติกัน ก็ได้มีการเอาภาพที่ทั้งสองลงภาพหนังสือพิมพ์รายวัน L’Osservation Romano ของวาติกัน ที่ทำให้ "มุสโสลินี" เห็น เหมือนเป็นการบอกเป็นนัยๆว่า อย่าคิดมายึดเอาวาติกันนะ เพราะมีอเมริกาปกป้องอยู่

... เพราะในสายตาของเทเลอร์และวาติกันนั้น “มุสโสลินี” น่ากลัวกว่าฮิตเล่อร์ เพราะเคยมีการจัดประชุมกันระหว่างตัวแทนของ “อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา” กับ “วาติกัน” ประชุมกับรัฐมนตรีต่างประเทศของ “นาซี” เยอรมันนาย Joachim Von Ribbentrop ( 1938 – 1945 ) แต่กับ “มุสโสลินี” นั้นวาติกันมีความสัมพันธ์ไม่ค่อยดีนัก เพราะเขาเคยปรามาสอย่างรุนแรงว่า “วาติกัน คือไส้ติ่งอักเสบที่เรื้อรังของอิตาลี” ( Vatican is the chronic appendicitis of Italy ) และโจมตีหนังสือพิพม์รายวัน L’Osservation Romano ของวาติกัน ว่าเป็น “คนใช้ของศัตรูของอิตาลีและเป็นหนังสือพิมพ์ของ-ยิว- อย่างชัดเจน”

... ตอนนั้นฮิตเล่อร์มีการประกาศว่าเตรียมจะบุกหลายประเทศในยุโรป ( เพื่อจะยึดธนาคารและทองคำ เอาไปสร้างกองทัพ ) หลายประเทศจึงหวาดกลัวรวมทั้งวาติกันด้วย เพราะ “มุสโสลินี” ของอิตาลีคือพันธมิตรของนาซีฮิตเล่อร์และเตรียมตัวจะบุก “วาติกัน” เพื่อเอาสมบัติด้วยเช่นกัน และ “ทองคำ” วาติกันก็มีมากมายด้วย และมุสโสลินีก็เคยบอกกับทางวิติกันว่า ไม่รับประกันว่าจะไม่บุกโจมตีหรือไม่

... และในวันที่ 17 พฤษภาคม 1940 เทเล่อร์ได้ส่งข้อความด่วนถึงอเมริกาว่าวาติกันต้องการความช่วยเหลือจากอเมริกาด่วนในการปกป้องวาติกันและสมบัติ

... หลังจากเนเธอร์แลนด์ได้ถูกฮิตเล่อร์โจมตีในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 ทำให้หลายประเทศหวาดกลัวรวมทั้ง “วาติกัน” และบอกว่าวาติกันนั้นมีทองคำมากมายในธนาคารหลายประเทศที่กำลังจะถูกโจมตีและต้องการความช่วยเหลือจาก “อเมริกา” โดยด่วนและตอนนี้พบว่าไปรวมกันโผล่เก็บอยู่ที่ “อังกฤษ” และ “วาติกัน” มีเจตนาที่จะส่งข้ามไปฝากไว้กับธนาคารหลายแห่งนิวยอร์คของ “วอลล์สตรีท” ดินแดนที่เทเล่อร์ทำงานด้านกฎหมายให้อยู่ โดยบอกว่าวาติกันไม่ต้องการที่จะขายทองคำและอยากทำให้มั่นใจว่าทองคำจะถูกเก็บไว้ในสภาพเดิมและมีอิสระภายใต้กฎหมายของอเมริกา และที่สำคัญวาติกันเกรงกลัวไม่อยากให้สื่อและสาธารณชนทราบ ( คล้ายๆลัทธิจานบินในไทย )

... และปลายทางที่มีการเจรจากันคือ จะมีการให้ “เฟด” หรือธนาคารกลางอเมริกาเป็นผู้เก็บ “ทองคำวาติกัน” เอาไว้ แต่เฟดก็บอกว่าจะเก็บเอาไว้ในนามของธนาคารกลางของประเทศหรือเอกชนเท่านั้น เพราะวาติกันไม่ใช่ธนาคารกลาง แต่สุดท้ายก็มีการเจรจากันและตกลงที่จะรับทองคำจากวาติกันไปไว้ที่นิวยอร์คกับเฟดของอเมริกา โดยออกเป็นบัญชีลูกค้าต่างประเทศโดยมีการขนเที่ยวแรกถึงอเมริกา เมื่อ 21 มิถุนายน 1940 โดยเรือ SS Britannica และหลังจากนั้นก็มีการขนมาอีกหลายครั้ง และที่วาติกันย้ำมากคือต้องไม่ให้สื่อและสาธารณชนทราบถึงกับว่ามีการติดต่อและขนส่ง "ทองคำ" โดยไม่ดำเนินการผ่านสถานทูตอเมริกาในโรม

... เหมือน “สงครามยูเครน” เมื่อปี 2013-2014 ก็เช่นกัน ก็มีการอ้างและออกข่าวว่า “รัสเซีย" จะบุกยูเครนและสร้างความกลัวขึ้นกับนายธนาคารและรัฐบาลยูเครนเพื่อจะให้มีการขนย้าย “ทองคำ” ไปฝากไว้กับ “อเมริกา” จนสุดท้ายก็ไปจริงๆ และแม้สงครามจะสงบไปนานแล้วแต่ทองคำก็ยังอยู่ที่ “อเมริกา” จนถึงปัจจุบัน

... และแม้โดยจะอ้างว่าเพราะ “สงคราม” จาก “นาซีฮิตเล่อร์” หรือเพราะ “แผนการณ์” อย่างไรก็ตาม แต่สุดท้ายแล้ว “ทองคำจากวาติกัน” และอีกจากหลายๆประเทศของยุโรปในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ไหลไปนอนอยู่ในคลังธนาคารในดินแดน “อเมริกา” กันหมด อย่างแนบเนียนตา

Jeerachart Jongsomchai

... หนังสือ “Chasing Gold” โดย George M. Taber

https://en.wikipedia.org/wiki/Myron_Charles_Taylor 

https://www.cambridge.org/core/journals/church-history/article/div-classtitlemyron-c-taylorandaposs-mission-to-the-vatican-19401950div/A2218CDCF8DD1C939652CC490D245B58

http://churchandstate.org.uk/2016/08/the-lawsuit-against-the-vatican-for-looting-nazi-gold/ 

เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี!!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b 
Line ID:@fxhanuman

    

Broker Name Regulation Max Leverage Lowest Spreads Minimum Deposit Minimal Lot Contact

HFMarkets

SV, CySEC, DFSA, FCA, FSCA, FSA, CMA 2000 : 1  0.0 pips $5 0.01 lot View Profile
Visit Website

XM

FCA, ASIC,IFSC,
CySec
1000 : 1 1 pips – Micro
1 pips – Standard

0 pips - Ultra low
$5 0.01 lots View Profile
Visit Website

http://forex4you.com

Forex4you

FSC of BVI 1000 : 1

0.1 pips - Cent
0.1 pips - Classic
0.1 pips - STP

$1 

0.0001 lot Cent
0.01 lot Classic
0.01 lot STP

Visit website
View Profile

Doo Prime

SEC, FINRA, FCA, ASIC, FSA, FSC 500 : 1 0.1 pips $100 0.01 lots View Profile
Visit Website

 Exness 

CySEC, FCA Unli : 1  Stand
Unli : 1 Raw   
Unli : Zero
0.3 pips – Stand
0 pips – Raw
0 pips – Zero
$1 0.01 lot  Stand
0.01 lot  Raw
0.01 lot  Zero
View Profile
Visit Website

230424 icm 100x33

IC Markets

ASIC 500 : 1 1 pips - Mini
1 pips - Stand
0 pips - ECN
$200 0.01 lot

View Profile

Visit website

GMIEDGE

 FCA, VFSC 2000:1 0.1 Pips  $2.5  0.01 lot View Profile
Visit Website

BDSwiss

FSC, FSA 1000 : 1 1.5 pips - Classic
1.1 pips - VIP
0.0 pips - RAW
$10 0.01 lots View Profile
Visit Website

Pepperstone

ASIC,SCB,CYSEC,DFSA,

FCA, BaFIN, CMA,

200 : 1 1 pips - Stand
0.1 pips - Razor
1 pips - No Swap
0 Pips - Active Trade
0 0.01 lot View Profile
Visit Website

TICKMILL

FCA 500:1 1.6 pips $25 0.01 lot View Profile
Visit website
290318 atfx logoATFX FCA, CySEC 200 : 1 1.8 pips $100 0.01 lot View Profile
Visit Website
170803 roboforex logoRoboForex CySEC, IFSC 2000:1 0.4 pips $10 0.01 lot View Profile
Visit Websit

www.fxclearing.com
FXCL Markets

IFSC 500 : 1

1 pips - Micro
1 pips - Mini
0.6 pips - ECN Li
0.8 pips - ECN Inta
1 pips - ECN Sca

$1 0.01 lot View Profile
Visit website

 

AxiTrader

FCA, ASIC, FSP, DFSA 400 : 1  0.0 pips $1 0.01 lot all View Profile
Visit website

http://www.fxprimus.com

FXPRIMUS

CySEC 500 : 1 2 pips - Mini
0.8 pips - Stand
0 pips - ECN
$100 0.01 lot all View Profile
Visit Website

FXTM

CySec ,FCA,IFSC 1000 : 1

0.0 pips - ECN

0.1 pips -Stan

$1 0.01 lot View Profile
Visit Website

AETOS.COM

AETOS

FCA, ASIC, VFSC, CIMA up to 800

Genneral 1.8 pip
Advance 1.2 pip
Pro 0.0 pip

$50
$50
$20,000

0.01 lot View Profile
Visit website

EIGHTCAP

ASIC 500 : 1 0.0 pips  $100 0.01 lot

View Profile

Visit website

 

Fullerton

SFP, NZBN 200 : 1 0.5 pips - Live $200 0.01 lot View Profile
Visit Website

FxPro

CySEC, FCA
FSB, MiFID
500 : 1
Max
0.6 pips  $100 0.01 lot View Profile
Visit Website

INFINOX

 FCA, SCB 400 : 1 0.0 pips $10 0.01 lot  View Profila
Visit Website

VT markets

CIMA, ASIC 500 : 1 0.0 pips $200 0.01 lot  View Profila
Visit Website

TMGM

ASIC 500 : 1 0.0 pips $100 0.01 lot  View Profila
Visit Website

020422 zfx logo

ZFX

FCA, FSA 2000 : 1 0.0 pips

$15

0.01 lot  View Profila
Visit Website

 

ดูตารางเปรียบเทียบโบรกเกอร์ทั้งหมด คลิก

 

 

 

 

 

"การแจ้งเตือนเรื่องความเสี่ยง: การเทรด Forex หรือ CFD และตราสารอนุพันธ์อื่นๆ นั้นผันผวนสูงและมีความเสี่ยงสูง คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบถึงวัตถุประสงค์การซื้อขาย ระดับประสบการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีความเป็นไปได้ที่ความสูญเสียจะสูงเกินกว่าเงินลงทุนของคุณ คุณควรลงทุนในระดับที่สามารถรับความสูญเสียได้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเข้าใจความเสี่ยงทั้งหมดและใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ"